Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1283
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตรา วีรบุรีนนท์th_TH
dc.contributor.authorเจริญ ศรีศศลักษณ์, 2498-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-30T06:49:37Z-
dc.date.available2022-08-30T06:49:37Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1283en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประวัติความเป็นมาของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยดำบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม (2) การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม (3) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม และ (4) แนวทางในการอนุรักษ์ ประเพณีและวัฒนธรรม วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 20 คน ประกอบด้วย นักวิชาการ จำนวน 4 คน ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ไทยดำ จำนวน 2 คน ผู้นำชุมชน จำนวน 2 คน และประชากรบ้านสะแกราย จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เจาะลึกทั้งมีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนาผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มชาติพันธุ์ไทยดำ บ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม จังหวัดนครปฐมอพยพมาจากอำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ได้ประมาณ 100 สาเหตุมาจากไม่ต้องการแก่งแย่งที่ดินทำมาหากิน (2) การเปลี่ยนแปลงทางสังคมเป็นการเปลี่ยนแปลงจากสังคมปิดเป็นสังคมเปิด จากที่เคยอยู่แบบโดดเดี่ยว พัฒนาไปสู่การมีความสัมพันธ์กับประชาชนทั่วไป สืบเนื่องจากการศึกษา อาชีพและการแต่งงานนอกกลุ่ม การพัฒนาด้านต่างๆ เกิดขึ้นในช่วงหลังปี พ.ศ.2500 ซึ่งรัฐบาลประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ และมีการเปลี่ยนแปลงเห็นได้ชัด ตั้งแต่ปี พ.ศ.2531 เป็นต้นมา เช่น เส้นทางคมนาคม การรักษาทางการแพทย์ ส่วนทางวัฒนธรรมพบว่า ในด้านประเพณี ภาษา อาชีพ และวิถีการดำรงชีวิตตลอดจนบ้านพักอาศัยก็เปลี่ยนแปลงจากแบบบ้านไทยดำดั้งเดิมมาเป็นแบบสมัยนิยมปัจจุบัน (3) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การดำรงวิถีชีวิตดั้งเดิมปรับเปลี่ยนไป มีการพัฒนาด้านต่างๆ เพื่อให้มีความสอดคล้องต่อสังคมภายนอก และทางวัฒนธรรม ไม่เกิดผลกระทบเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลง ด้านการปรับให้สอดคล้องต่อยุคสมัย แต่ยังดำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมดั้งเดิม (4) แนวทางในการอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรม ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยดำ บ้านสะแกรายควรมีการสร้างจิตสำนึกให้กับกลุ่มชาติพันธุ์ไทยดำบ้านสะแกราย โดยการถ่ายทอดความรู้จากผู้ที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับประเพณี วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ไทยดำดั้งเดิมอย่างถ่องแท้ และการสนับสนุนด้านการงบประมาณจากภาครัฐ เพื่อจัดกิจกรรมและประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอยางทั่วถึงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.134en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกลุ่มชาติพันธุ์--ไทยth_TH
dc.subjectโซ่งth_TH
dc.titleการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยดำบ้านสะแกราย ตำบลดอนยายหอม จังหวัดนครปฐมth_TH
dc.title.alternativeSocial and cultural changes of Thai Dam ethnic group in Sakaerai Village, Don Yai Hom Sub-district, Nakhon Pathom Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.134-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the history of the Thai Dam ethnic group in Sakaerai Village, Don Yai Hom Sub-District, Nakhon Pathom Province; (2) social and cultural changes the group has undergone; (3) the impacts of those changes; and (4) approaches for preserving the group’s traditions and culture. This was a qualitative research based on interviews with 20 key informants, consisting of 4 academics, 2 people knowledgeable about the Thai Dam group, 2 community leaders, and 12 residents of Sakaerai Village. The data collection tool was a structured and unstructured in-depth interview form. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) The Thai Dam ethnic group in Sakaerai Village, Don Yai Hom Sub-District, Nakhon Pathom Province, originally came from Khao Yoi District in Phetchaburi Province about 100 years ago. They moved because they did not want to compete with others for land to live on. (2) The major social change that the group underwent was a transformation from a closed society to an open society with more interaction with other social groups. This was mainly due to education, work and intermarriage with outsiders. The Thai Dam society began to change along with national changes after 1957, when the government announced its first National Economic and Social Development Plan. More visible changes occurred in the community starting after 1988, due to extension of transportation infrastructure and modern medical services. Cultural changes occurred in the traditions, language, occupations, way of life, and habitations, with a shift from traditional Thai Dam houses to modern style houses. (3) The impact of social changes was a change in the traditional lifestyle and the adoption of new developments that were compatible with the external society. The cultural changes had no impact because the people in the Thai Dam community adjusted to the changing times but still maintained their original culture. (4) To preserve the group’s traditions, consciousness-building activities should be undertaken to let newer generations learn about and understand traditional customs and culture from those who truly know about them. Government agencies should provide a budget to publicize local cultural ceremonies and allow more people to observe or participate in them.en_US
dc.contributor.coadvisorสุดจิต เจนนพกาญจน์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (6).pdfเอกสารฉบับเต็ม22.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons