Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1284
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวินth_TH
dc.contributor.authorสุภัททิรา โทนแก้ว, 2516-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-30T07:00:45Z-
dc.date.available2022-08-30T07:00:45Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1284en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการใชฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของอาจารยและนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาคณะครุศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคใต้ (2) เปรียบเทียบการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาคณะครุศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคใต้ และ (3) ศึกษาปัญหาการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาคณะครุศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคใต้วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสํารวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาคณะครุศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคใต้ประจำปีการศึกษา 2557 จํานวน 1,727 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 316 คน เป็นนักศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 253 คน (ร้อยละ 80.00) รองลงมา เป็นอาจารย์จํานวน 52 คน (ร้อยละ 16.50) และนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวน 11 คน (ร้อยละ 3.50) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติทีใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Scheffe ผลการวิจัยพบว่า (1) อาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาคณะครุศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคใต้มีการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยรวมอยู่ในระดับนัอย ( x =1.88) มีเพียง 2 ฐานข้อมูลที่มีสภาพการใช้ในระดับมากได้แก่ Education Research Complete ( x =3.64) และ ProQuest Dissertations & Theses ( x =3.57) (2) เปรียบเทียบการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์ และนักศึกษาจําแนกตามเพศและอายุพบว่ามีการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ไม่แตกต่างกัน ส่วนการจำแนกตามอายุพบว่า ช่วงอายุตํ่ากว่า 41 ปีแตกต่างกับช่วงอายุ 41-50 ปีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจําแนกตามสาขาวิชา พบว่า สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาแตกต่างกับสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน สาขาวิชาปฐมวัย สาขาวิชายุทธศาสตร์การวิจัย สาขาวิชาภาวะผู้นําการจัดการศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา และสาขาวิชาการศึกษาพิเศษ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ (3) ปัญหาการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางได้ แก่ด้านการไม่รู้จักชื่อวารสารที่ตรงกับความต้องการ ( x = 3.55) และไม่ทราบว่าวารสารนั้นอยู่ในฐานข้อมูลใด ( x = 3.53)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.114en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ--ไทย (ภาคใต้)--ฐานข้อมูล--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeUse of electronic databases by lecturers and graduate students in faculty of education, Rajabhat Universities in the Southern Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.114-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study the use of electronic databases by lecturers and graduate students in the Faculties of Education of Rajabhat Universities in the Southern Region. It had a comparative focus and meant to investigate problems faced by the subjects in database use. This research was survey research, and the population consisted of 1,727 lecturers and graduate students in Faculties of Education of Rajabhat Universities in the Southern Region. Simple random sampling was used to select 316 lecturers and graduate students, of which 253 were master’s degree students, 11 doctoral degree students and 52 lecturers. The instruments used were questionnaires. The statistics used in this study were percentage, mean and standard deviation, t-test, one-way analysis of variance and the Scheffe method for pair matching comparison. The research findings can be summarized as follows: (1) lecturers and graduate students used the electronic databases at a low level ( x =1.88), while Educational Research Complete ( x =3.64) and ProQuest Dissertations & Theses were used at a high level ( x =3.57) (2) Comparing the use of electronic databases by lecturers and graduate students by gender and age found no statistical significance in those under 41 years of age. For 41-50 year - olds there was statistical significance at .05. By subject, the areas of innovation management and development, curriculum and teaching, early childhood education, research strategies, leadership management, mathematics, and special education had a statistical significance of .05. (3) The problems in using electronic databases were at a middling level. For example, users were unable to identify journal titles that matched their needs ( x = 3.55) or were unable to locate journals in the database ( x = 3.53)en_US
dc.contributor.coadvisorธาดาศักดิ์ วชิรปรีชาพงษ์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (7).pdfเอกสารฉบับเต็ม12.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons