Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12850
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารยา ประเสริฐชัยth_TH
dc.contributor.authorปราณี ถีอาสนา, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-30T07:46:53Z-
dc.date.available2024-09-30T07:46:53Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12850en_US
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพแบบมีส่วนร่วม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองโน จังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 33 คน คัดเลือกแบบเจาะจง จากคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพปฐมภูมิของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองโน ทั้งหมด 45 คน ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการวิจัย ระหว่างเดือนมิถุนายน-สิงหาคม 2558 เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยใช้แบบสอบถาม การบันทึกการสนทนากลุ่ม และการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและเชิงอนุมาน และข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ผลของกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วมครั้งนี้ 1) มีกิจกรรม 12 ขั้นตอน 2) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพปฐมภูมิของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองโน มีการเปลี่ยนแปลงด้านความพึงพอใจ และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนการดำเนินงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) หน่วยบริการผ่านเกณฑ์การประเมินตามมาตรฐาน และ 4) มีรูปแบบการพัฒนาคุณภาพบริการตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองโน คือ การประสานงานภาคีเครือข่ายแบบมีส่วนร่วม (N) กำหนดวันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (N) การคิดเชิงบวก (P ) เสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน (C) และการรู้คุณค่าการชมเชย (A) หรือที่เรียกว่า รูปแบบ NN-PCA โดยปัจจัยแห่งความสำเร็จในกระบวนการพัฒนาครั้งนี้คือ การมีผู้นำและผู้ปฏิบัติให้ความสำคัญในการพัฒนา การรวบรวมข้อมูล และการมีกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล--ไทย--มหาสารคามth_TH
dc.titleผลของการพัฒนาคุณภาพบริการตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพแบบมีส่วนร่วมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองโน จังหวัดมหาสารคามth_TH
dc.title.alternativeResults of participatory service quality development by using the quality criteria of the Primary Care Award in Nongno Subdistrict Health Promoting Hospital, Maha Sarakham Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the results of participatory service quality development processes by using the quality criteria of the Primary Care Award at Nongno Subdistrict Health Promoting Hospital in Maha Sarakham province. Involved in this study were 33 participants selected out of all 45 members of the hospital's service quality development committee by using the specific purpose sampling method. Participatory action research activities were performed from June through August 2015. Quantitative and qualitative data were collected by using created questionnaires and then analyzed by using descriptive statistics content analysis, respectively. The results showed that: (1) the service quality development process at the hospital used 12-step participatory learning activities; (2) after implementing the process, the participants had significantly higher levels of satisfaction and participation than before; (3) all service units met the evaluation standards; and (4) the NN-PCA model for service quality development was used, comprising Networking (N), Non-Stop D-Day (N), Positive thinking (P), Community empowerment (C), and Appreciation (A). The success factors for the development effort included active leadership and participation of all concerned in realizing the importance of development and taking actions on data collection and continual service quality development process.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_148503.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons