Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12853
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระวุธ ธรรมกุลth_TH
dc.contributor.authorปัญญา จันทร์โต, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-30T08:00:04Z-
dc.date.available2024-09-30T08:00:04Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12853en_US
dc.description.abstractการวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การบริหารงานของทีมหมอครอบครัว (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ และ (3) การมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานภาคีเครือข่าย และ (4) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้ ทัศนคติ การมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่มีผลต่อการบริหารงานของทีมหมอครอบครัวเพื่อการดูแลผู้ป่วยโรคข้อเข่า เสื่อมในจังหวัดนครสวรรค์ ประชากรคือทีมหมอครอบครัวที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการระดับปฐมภูมิ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในจังหวัดนครสวรรค์ ทั้งหมด จำนวน 600 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 120 คน จากการคำนวณขนาดตัวอย่าง โดยใช้โปรแกรม จีสตาร์พาวเวอร์ 3.1 และใช้การสุ่มอย่างง่าย โดยเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงด้านความรู้ในเรื่องการดูแลผู้ป่วยเท่ากับ 0.67 ด้านทัศนคติต่อการบริหารงานของทีมหมอครอบครัว มีค่าเท่ากับ 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารงานของทีมหมอครอบครัว ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง (2) ส่วนใหญ่อยู่ในตำแหน่งผู้ปฏิบัติ ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วย อยู่ในระดับดี ทัศนคติต่อการบริหารงานของทีมหมอครอบครัวอยู่ในระดับปานกลาง (3) การมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานภาคีเครือข่าย ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง และ (4) หลังจากควบคุมตัวแปรที่มีอิทธิพลร่วม พบว่า กลุ่มอายุ 30-39 ปี สถานภาพโสด ทัศนคติการบริหารงานของทีมหมอครอบครัว และการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานภาคีเครือข่าย มีอิทธิพลต่อการบริหารงานของทีมหมอครอบครัวเพื่อการดูแลผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยสามารถอธิบายการบริหารงานของทีมหมอครอบครัวเพื่อการดูแลผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมได้ร้อยละ 78.10th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้อเข่า--โรค--การรักษาth_TH
dc.subjectผู้ป่วย--การดูแลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุขth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารงานของทีมหมอครอบครัวเพื่อการดูแลผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมในจังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting administration of family care teams for osteoarthritis patient care in Nakhon Sawan Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional research aimed to study: (1) the administration of family care teams; (2) personal factors, knowledge, and attitudes of team members; (3) the participation of communities and network partners; and (4) the influence of personal factors, knowledge, attitudes, and community-network participation in the administration of family care teams for the care of patients with osteoarthritis of the knee in Nakhon Sawan province. The study was undertaken in a sample of 120 health officials randomly selected from all 600 family care team members working in primary care units in the province under the Ministry of Public Health. The sample size was calculated using the G*Power 3.1 program. Data were collected using a questionnaire with the reliability values of 0.67 for knowledge about patient care and 0.92 for attitudes towards family care team management, and then analyzed to determine frequency, percentages, means, standard deviations and multiple regressions. The results revealed that: (1) the administration capacities of family care teams were mostly at a moderate level; (2) most of the team members had been working at the practitioner levels; their knowledge levels about patient care were good and their attitudes about family care team administration were moderate; (3) the participation levels of communities and network partners were moderate; and (4) after controlling the interaction-effect variables, age group 30–39 years, single status, attitude towards family care team administration, and community-network participation significantly affected the administration of the family care teams for the care of patients with knee osteoarthritis (p = 0.05), which could 78.10% explain the team administration for the care of such patients.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161354.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons