Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12854
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา จันทร์คงth_TH
dc.contributor.authorปาริชาต เมืองเอก, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-09-30T08:04:19Z-
dc.date.available2024-09-30T08:04:19Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12854en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า สิ่งชักนำสู่การปฏิบัติในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า และการรับรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าของประชาชนในจังหวัดอุตรดิตถ์ และ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า และสิ่งชักนำสู่การปฏิบัติในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า กับการรับรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าของประชาชนในจังหวัดอุตรดิตถ์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 458,197 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 362 คน ได้จากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลครั้งนี้เป็นแบบสอบถามที่มีความเที่ยง 0.925 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไค-สแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 40.39 ปี ระดับการศึกษาสูงสุด มัธยมศึกษาร้อยละ 35.6 รองลงมา คือ ปริญญาตรี ร้อยละ 28.5 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ 24.0 รองลงมา คือเกษตรกรรม และรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 21.3 เท่ากัน มีสถานภาพสมรส สมรส รายได้ครอบครัวในแต่ละเดือนอยู่ระหว่างน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท เลี้ยงสุนัขหรือแมว จำนวน 1 ตัว ไม่เคยถูกสุนัขและแมวกัด กลุ่มที่เคยถูกกัด ถูกกัดเพียง 1 ครั้ง บุคลิกภาพส่วนใหญ่มีมนุษยสัมพันธ์ดี ชอบช่วยเหลือผู้อื่น ไม่มีตำแหน่งทางสังคมในชุมชน ครอบครัวมีส่วนชักจูงให้ทำกิจกรรมมากที่สุด และค่านิยมทางวัฒนธรรมที่ประชาชนส่วนใหญ่เห็นว่ามีผลทำให้การป้องกันและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในชุมชน ประสบความสำเร็จมากที่สุด คือ ความสามัคคีในชุมชน ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า มีค่าเฉลี่ยความรู้อยู่ในระดับต่ำ และสิ่งชักนำสู่การปฏิบัติในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า โดยรวมอยู่ในระดับสูง และ (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ และระดับการศึกษาสูงสุด มีความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา ได้แก่ บุคลิกภาพ และตำแหน่งทางสังคมในชุมชนมีความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าและสิ่งชักนำสู่การปฏิบัติในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้ามีความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า เช่นกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรคพิษสุนัขบ้าth_TH
dc.subjectการรับรู้th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุขth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าของประชาชนในจังหวัดอุตรดิตถ์th_TH
dc.title.alternativeFactors related to perception about rabies of people in Uttaradit Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this survey research were: (1) to identify personal factors, socio-psychological factors, knowledge of rabies, cues to action for rabies prevention, and rabies perception; and (2) to determine the relationship between personal factors, socio-psychological factors, rabies knowledge, as well as cues to action for rabies prevention and rabies perception, all among the people in Uttaradit province. The study involved a sample of 362 people selected using the simple random sampling method from all 458,197 residents in Uttaradit province. Data were collected by using a questionnaire with the reliability value of 0.925 and then analyzed to determine percentage, means, standard deviations, chi-square test and Pearson's product-moment correlation coefficient. The results revealed that: (1) of all respondents, most of them were married females with the mean age of 40.4 years, 35.6% had secondary education, 28.5% completed a bachelor's degree, 24% worked in state agencies or enterprises, and had a family income of 10,000 baht or lower per month. Each family had one pet dog or cat, and had never been bitten by a dog or cat, but were bitten only once if ever. Most of them were friendly, liked helping others, and did not hold any positions in the community. Their families mostly persuaded them take part in community activities. The cultural value, according to most people's opinions, that could make the rabies prevention and control program successful the most was community's unity, whereas the mean score of rabies knowledge was high, but those for cues to action and overall rabies perception were also high; and (2) personal factors, including age and highest educational attainment, socio-psychological factors (personality and social position in community), rabies knowledge, and cues to action in rabies prevention were associated with rabies perception.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_154925.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons