Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12864
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมโภช รติโอฬาร | th_TH |
dc.contributor.author | ลาภิสรา บุญปลูก | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-01T03:50:18Z | - |
dc.date.available | 2024-10-01T03:50:18Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12864 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและทบทวนสถานการณ์ปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชน และ 2) พัฒนารูปแบบการจัดการขยะอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 50 คน จากกลุ่มผู้นำท้องถิ่น และกรรมการชุมชน เครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล ส่วนที่ 1 ศึกษาทบทวนสถานการณ์ ด้านการจัดการขยะจาก อบต.บางแก้ว ส่วนที่ 2 การสนทนากลุ่มครั้งที่ 1 เพื่อกำหนดประเด็นการสร้างรูปแบบการจัดการขยะอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน และการสนทนากลุ่ม ครั้งที่ 2 เพื่อหาข้อสรุปร่วมต่อรูปแบบการจัดการขยะอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน ผลการศึกษาพบว่า 1) ข้อมูลทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว มีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 27,923 ครัวเรือน มีประชากรรวม 44,642 คน ขยะมูลฝอยมีประมาณ 127.58 ตัน ต่อวัน มีค่าเฉลี่ย ประมาณ 0.95 กิโลกรัม/คน/วัน แหล่งกำเนิดมูลฝอยที่สำคัญ คือ บ้านพักอาศัย ปัญหาหลักด้านการจัดการขยะมูลฝอย คือ ประชาชนไม่มีการคัดแยกขยะและนำขยะมาใช้ประโยชน์น้อย2) ผลจากการสนทนากลุ่ม ได้รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ได้แก่ การคัดแยกขยะมูลฝอยกลับไปใช้ประโยชน์โดยชุมชนจัดการตั้งแต่ต้นทาง โดยคัดแยกเป็น 4 ประเภท คือ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะอันตราย ขยะที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์จัดเก็บตามเวลา ที่กำหนดตามที่ชุมชนเสนอ และกำจัดขยะอย่างถูกวิธีโดยองค์การ บริหารส่วนตำบลบางแก้ว นำรูปแบบการจัดการขยะจัดทำเป็นคู่มือ ประกอบด้วย ขั้นตอนการคัดแยกขยะแต่ละประเภท ขั้นตอนการรวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอย ขั้นตอนการกำจัดขยะมูลฝอย และระเบียบคณะกรรมการกองทุนบริหารจัดการขยะองค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ขยะ--การจัดการ--การมีส่วนร่วมของประชาชน | การกำจัดขยะ--การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.subject | การคัดแยกขยะ--การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการจัดการขยะอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ | th_TH |
dc.title.alternative | Development of model for solid waste management through community participation : a case of Bang Kaeo Subdistrict Administrative Organization (SAO) in Bang Phli District, Samut Prakan Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to: (1) review problems and situations of solid waste in communities; and (2) develop a waste management model through community participation for the Bang Kaeo SAO in Samut Prakan province. The study was carried out among 50 community leaders including community committee members, selected using the purposive sampling method. Data collection included a review of the solid waste management system in the SAO and focus group discussions to define issues related to waste management and make conclusions on the SAO's waste management model though community participation. The results reviewed that: (1) the Bang Kaeo SAO has 27,923 households with a population of 44,642, about 127.58 tons of solid waste per day (mostly domestic of 0.95 kg/person) on average, and a major waste management problem related to non-segregation and less reutilization of waste; (2) according to the focus group discussions, the model for solid waste management through community participation in the SAO includeds waste segregation at the source for reuse by the community. Solid waste can be segregated into organic waste, recyclable waste, general waste and hazardous waste. Non-reusable waste has to be collected as per the schedule proposed by the community and then transported for proper disposal by the SAO. Based on this model, a manual for solid waste management has been developed, containing sections on steps for waste segregation, collection, transportation and disposal, and the Regulations on Solid Waste Management Committee of the Bang Kaeo SAO. | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_148419.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License