Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12865
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา จันทร์คงth_TH
dc.contributor.authorวนัสนันท์ จันทะนะth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-10-01T04:12:33Z-
dc.date.available2024-10-01T04:12:33Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12865en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลของอาสาสมัครต่างด้าว จังหวัดปทุมธานี (2) การรับรู้บทบาทหน้าที่ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ความรู้พื้นฐานเรื่องสิทธิประโยชน์ของบัตรประกันสุขภาพต่างด้าว โรคติดต่อและการป้องกัน การรักษาและการส่งเสริมสุขภาพของอาสาสมัครต่างด้าว ก่อนและหลังการเข้าร่วมการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว (3) การเปรียบเทียบการรับรู้บทบาทหน้าที่ของอาสาสมัครต่างด้าว ความรู้พื้นฐานเรื่องสิทธิประโยชน์ของบัตรประกันสุขภาพต่างด้าว การรักษาและการส่งเสริมสุขภาพ โรคติดต่อและการป้องกัน ก่อนและหลังการเข้าร่วมการพัฒนา และ (4) ประเมินความพึงพอใจต่อการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว สาธารณสุขต่างด้าวในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค จังหวัดปทุมธานี ทุกคน จำนวน 70 คน ดำเนินการพัฒนาโดยประยุกต์หลักสูตรจากคู่มือการอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าวของกระทรวงสาธารณสุขแล้ว เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนและหลังการพัฒนา โดยใช้แบบสอบถาม ที่มีค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.78 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ และการทดสอบแบบจับคู่ ผลการวิจัยพบว่า (1) อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 28.99 ปี และมีสัญชาติพม่า การศึกษาระดับประถมศึกษา ประกอบอาชีพเป็นลูกจ้างบริษัท (2) การรับรู้บทบาทหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว มีความรู้เรื่องสิทธิประโยชน์ของบัตรประกันสุขภาพต่างด้าว โรคติดต่อและการป้องกัน การรักษาและการส่งเสริมสุขภาพ ก่อนการพัฒนาอยู่ในระดับปานกลางและหลังการพัฒนาในระดับสูง (3) หลังการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าวมีการรับรู้บทบาทหน้าที่ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ความรู้พื้นฐานเรื่องสิทธิประโยชน์ของบัตรประกันสุขภาพต่างด้าว โรคติดต่อและการป้องกัน การรักษาและการส่งเสริมสุขภาพของอาสาสมัครต่างด้าวเพิ่มขึ้น และ (4) อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว มีความพึงพอใจต่อการพัฒนาโดยภาพรวมในระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพth_TH
dc.subjectคนต่างด้าว--สุขภาพและอนามัย--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุขth_TH
dc.titleผลการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าวในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of Migrant health volunteers' potential development in health promotion and disease prevention in Pathum Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this quasi-experimental research were to study: (1) personal characteristics of migrant health volunteers (MHVs) in Pathum Thani province; (2) the awareness of duties about health promotion and disease prevention, basic knowledge about the benefits of the Migrant Health Insurance card, knowledge about contagious disease prevention, and knowledge about medical care and health promotion of MHVs before and after attending the MHV Potential Development Programme; (3) comparison between the awareness of duties of MHVs, basic knowledge about the benefits of the Migrant Health Insurance card, medical care, health promotion, contagious disease prevention before and after attending the MHV Potential Development Programme; and (4) MHVs' satisfaction with the MHV Potential Development Programme. The study was conduced among all 70 MHVs who participated in the MHV Potential Development Programme for Health Promotion and Disease Prevention in the province, based on the curriculum for training MHVs of the Ministry of Public Health. Data were collected before and after implementing the programme, using a questionnaire which had the reliability value of 0.78, and analyzed to determine frequency, percentage and paired t-test. The results were as follows: (1) most of the MHVs were Myanmar males with primary education, 28.99 years old on average, and factory employees; (2) the MHVs' levels of awareness of duties and knowledge about migrant health insurance benefits, disease prevention, medical care, and health promotion were moderate before attending the programme and high after attending the programme; (3) after attending the programme, the MHVs' levels of duty awareness and knowledge about health promotion, disease prevention, health insurance benefits, contagious disease, and medical care were higher; and (4) the MHVs' overall satisfaction with the programme was at a high level.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_146057.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons