Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12867
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorช่อทิพย์ บรมธนรัตน์th_TH
dc.contributor.authorวรสา บัวคงth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-10-01T04:26:26Z-
dc.date.available2024-10-01T04:26:26Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12867en_US
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภค และปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) (2) ระดับการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของอสม.ในจังหวัดนครศรีธรรมราช และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภค และปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงานกับการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของ อสม. ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากรที่ศึกษา คือ อสม. ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 28,499 คน คำนวณตัวอย่างได้จำนวนตัวอย่าง 553 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมีค่าความเที่ยงของแบบวัดความรู้ ปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงาน และการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคอยู่ระหว่าง0.87-0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบไคสแควร์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุเฉลี่ย 47.4 ปี อาชีพเกษตรกรรมมีรายได้เฉลี่ย 8,598.19 บาท จบการศึกษาระดับประถมศึกษาสถานภาพสมรสคู่นับถือศาสนาพุทธและระยะเวลาในการดำรงตำแหน่ง อสม. เฉลี่ย 11.4 ปี ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคอยู่ในระดับต่ำปัจจัยสนับสนุนด้านการปฏิบัติงานของ อสม. อยู่ในระดับปานกลาง (2) ระดับของการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค อยู่ในระดับปานกลาง และ (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของ อสม. อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับศาสนาปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.001 ระยะเวลาในการดำรงตำแหน่ง และอายุมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของ อสม. อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ควรส่งเสริมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ให้คำแนะนำแก่ผู้บริโภคเกี่ยวกับการเลือกซื้อเครื่องสำอาง วัตถุมีพิษอันตราย รวมทั้งเผยแพร่ความรู้และสนับสนุนการพัฒนาภาวะผู้นำของ อสม. เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มในชุมชน เกิดการพึ้งพาตนเอง โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เกิดอาชีพและรายได้ในชุมชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภค--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในจังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeFactors associating with the consumer protection implementation of Village Health Volunteers in Nakhon Si Thammarat Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were to study: (1) personal factors, knowledge of consumer protection, and work support factor of village health volunteers (VHVs); (2) the level of consumer protection implementation of VHVs in Nakhon Si Thammarat province; and (3) the relationship between personal factors, knowledge of consumer protection, and work support of VHVs with consumer protection of VHVs in Nakhon Si Thammarat province. The study population were28,499 VHVs in Nakhon Si Thammarat province. A samplesize of 553 was recruited by multi-stages random sampling technique. A study instrument was a questionnaire, with a reliability values of knowledge, work support factor, and consumer protection implementation between 0.87-0.89. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, chi-square test, and Pearson's product moment correlation coefficient. The results revealed that: (1) the personal factors, the majority of participants were female, with average age of 47.4 years, agriculturist, having an average income of 8,598.19 baht per month, finished primary school level, married, Buddhism, and having average duration of VHVs' work of11.4 years. Knowledge of consumer protection was at a low level, while thework support factor was at a moderate level; (2) the level of consumer protection implementation of VHVs was at a moderate with a statistical significant level of 0.05 was religion. Work support factor had positive relationship with the VHVs' consumer protection implementation at a significant level of0.001. Moreover the duration of VHVs' work and age had positive relationship with the consume r protection implementation at a significant level of 0.05. Recommendations from this study were that the empowerment for the village health volunteers to advise the consumers on cosmetics and hazardous materials should be done, including knowledge dissemination, and leadership development among VHVs to build team, self-reliance for career and income in the community.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_147257.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons