Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12869
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬารth_TH
dc.contributor.authorวีนัส ลักษณะเพ็ญth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2024-10-01T04:36:53Z-
dc.date.available2024-10-01T04:36:53Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12869en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์คุณภาพน้ำประปาหมู่บ้าน 2) ศึกษาการบริหารงานของผู้บริหารท้องถิ่น คณะกรรมการบริหารกิจการและบำรุงรักษาระบบประปาหมู่บ้านและผู้ดูแลระบบประปาหมู่บ้านในการบริหารกิจการและบำรุงรักษาระบบประปาหมู่บ้าน และ3) พัฒนาคู่มือการดูแลระบบประปาหมู่บ้าน ในเขตพื้นที่จังหวัดตราด วิธีดำเนินการศึกษา 1) ศึกษาสถานการณ์คุณภาพน้ำประปาหมู่บ้าน โดยสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงน้ำประปาหมู่บ้านในแต่ละอำเภอ จำนวน 142 ตัวอย่าง ทำการตรวจวัดคลอรีนอิสระคงเหลือในน้ำ และ โคลิฟอร์มแบคทีเรียในน้ำ ด้วยชุดทดสอบอย่างง่าย 2) ระดมสมอง การบริหารงานกิจการและบำรุงรักษาระบบประปาหมู่บ้าน จากกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 30 คน โดยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา และ 3) จัดทำคู่มือการดูแลระบบประปาหมู่บ้าน ในเขตพื้นที่จังหวัดตราด จากผลการศึกษาสถานการณ์และการระดมสมอง ตรวจสอบคุณภาพคู่มือ การดูแลระบบประปาหมู่บ้านโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) สถานการณ์น้ำประปาหมู่บ้านมีคลอรีนอิสระคงเหลือในน้ำเพียงร้อยละ 7 และพบโคลิฟอร์มแบคทีเรียในน้ำสูงถึงร้อยละ 85 2) การบริหารงานของผู้บริหารท้องถิ่น คณะกรรมการ บริหารกิจการและบำรุงรักษาระบบประปาหมู่บ้าน และผู้ดูแลระบบประปาหมู่บ้านพบมีปัญหาอุปสรรคในด้านโครงสร้างของอาคารกรองน้ำ ได้แก่ มีการนำน้ำผิวดินมาใช้กับระบบประปาหมู่บ้านแบบบาดาล ด้านการบริหารจัดการ ได้แก่ คณะกรรมการบริหารกิจการและบำรุงรักษาระบบประปาหมู่บ้าน ไม่เคยรายงานบัญชีรายรับ-รายจ่ายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่รับผิดชอบทราบ และด้านบุคลากร ผู้ดูแลระบบประปาหมู่บ้านขาดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการเติมปูนขาว สารส้ม คลอรีน ในกระบวนการผลิต และ 3) คู่มือการดูแลระบบประปาหมู่บ้านในเขตพื้นที่จังหวัดตราด ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของระบบประปาหมู่บ้าน การปรับปรุงคุณภาพน้ำประปาหมู่บ้าน กระบวนการผลิตน้ำประปาหมู่บ้าน การดูแลและบำรุงรักษาระบบประปา และการสุ่มเก็บตัวอย่างและการตรวจสอบคุณภาพน้ำประปาหมู่บ้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectประปาชนบท--ไทย--ตราดth_TH
dc.titleการพัฒนาคู่มือการดูแลระบบประปาหมู่บ้านในเขตพื้นที่จังหวัดตราดth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of manual for village water supply system maintenance in Trat Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to examine the qualities of village tap water (VTW); (2) to study the management capacity of local administrators, village water supply committees, and caretakers of village water supply systems; and (3) to develop a Manual for Village Water Supply System Maintenance in Trat province. The study was conducted through: (1) examining the qualities of 142 VTW samples collected from all districts in the province-testing for free residual chlorine and Coliform bacteria, using simple test kits; (2) brainstorming ideas on village water supply system maintenance with a sample of 30 relevant persons and conducting a content analysis of their opinions; and (3) developing a Manual for Village Water Supply System Maintenance for the province-the draft Manual's quality was assessed by three experts. The results revealed that: (1) regarding the VTW situation, only 7% of the water samples had free residual chlorine and 85% had coliform bacteria; (2) as for the respondents' opinions on water supply system management, there were problems of the water filtration structure (using surface water in some of the groundwater filtration systems), non-reporting on financial statement to the respective local administrative organizations, and caretakers' lack of knowledge and understanding about the use of lime, alum and chlorine in the water treatment process; and (3) the prepared Manual contains sections on the background of VTW system, quality improvement of VTW, process of VTW production, care and maintenance of VTW system, water-sample collection, and quality investigation of VTW.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_148382.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons