Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12881
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บริบูรณ์ ปิ่นประยงค์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วรรณา ศิลปอาชา, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | พลวรรธน์ คำประเสริฐ, 2525- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-04T07:59:26Z | - |
dc.date.available | 2024-10-04T07:59:26Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12881 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2565 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมการทำธุรกรรมทางการเงิน และการซื้อขายออนไลน์ของประชาชนจังหวัดน่าน (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับการทำธุรกรรมทางการเงินและการซื้อขายออนไลน์ของประชาชนจังหวัดน่าน (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและปัจจัยแวดล้อมอื่น ๆ กับการทำธุรกรรมทางการเงินและการซื้อขายออนไลน์ของประชาชนจังหวัดน่าน การวิจัยนี้เป็นการวิจังเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดน่าน และมีอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป จำนวน 404,002 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน ได้ทั้งหมด 400 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าความสัมพันธ์ด้วยไคสแควร์ ผลการวิจัย พบว่า (1) ประชาชนจังหวัดน่านส่วนใหญ่ใช้สมาร์ทโฟน/แท็บเล็ต/คอมพิวเตอร์ และใช้งานอินเทอร์เน็ตวันละ 2 - 5 ชั่วโมง โดยใช้งานแอปพลิเคชัน/เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่ให้ความบันเทิง เช่น ยูทูป เป็นต้น (2) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับการทำธุรกรรมทางการเงินและการซื้อขายออนไลน์ของประชาชนจังหวัดน่าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ทักศนคติ และปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ ทัศนคติ/ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำธุรกรรมทางการเงินและการซื้อขายออนไลน์ ความพร้อมในด้านการรับรู้ข่าวสาร ความรู้ และการเข้าถึงอุปกรณ์ พฤติกรรมการใช้งานของบุคคลรอบข้าง การใช้สมาร์ทโฟน/แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์และการใช้อินเทอร์เน็ตมีความสัมพันธ์กับการทำธุรกรรมทางการเงินและการซื้อขายออนไลน์ของประชาชนจังหวัดน่าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเงินส่วนบุคคล | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการทำธุรกรรมทางการเงิน และการซื้อขายออนไลน์ของประชาชนในจังหวัดน่าน | th_TH |
dc.title.alternative | Factors relating to financial transactions and online trading of people in Nan Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are (1) to study the behavior of Nan’s people in performing financial transactions and online trading (2) to study the relationship between personal factors and financial transactions and online trading of Nan people; (3) to study the relationship between attitudes and other environmental factors and financial transactions and online trading for the people of Nan’s people. This research was quantitative research. The population used in the research was people living in Nan province with the aged above 15 years, totaling 404,002 people. The sample size of altogether 400 people was determined using Taro Yamane's formula, and the sample was collected by simple random sampling method. The tools used for data collection were questionnaires. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and chi-square correlation test. The research results revealed that (1) most people in Nan Province use smartphones/tablets/computers and use the internet for 2-5 hours a day for surfing applications/websites, such as YouTube, etc. (2) personal factors in terms of gender, age, education, occupation, average monthly income were related to financial transactions and online trading of the people of Nan Province statistically significant at the 0.05 level, (3) attitudes and other factors, such as, attitudes/opinions related to online financial transactions and trading, perception of news, knowledge, and access to equipment, behavior of people surrounding, the use of smartphones/tablets, computers, and internet were related to financial transactions and online trading of the people of Nan Province statistically significant at the 0.05 level | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 22.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License