Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12882
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุลีพร เพชรเรียง, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-10-04T08:16:43Z-
dc.date.available2024-10-04T08:16:43Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12882-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับของพฤติกรรมภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการ และ 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการ ตามขนาดโรงพยาบาล ระยะเวลาการเป็นหัวหน้ากลุ่มงาน ระดับการศึกษา และสถานภาพสมรส ของหัวหน้าในกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน เขตภาคใต้ตอนล่าง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานตำแหน่งหัวหน้าในกลุ่มการพยาบาล ได้แก่ หัวหน้ากลุ่มการพยาบาล หัวหน้างานการพยาบาลอุบัติเหตุและฉุกเฉิน หัวหน้างานการพยาบาลป่วยนอก หัวหน้างานการพยาบาลผู้ป่วยใน และหัวหน้างานการพยาบาลห้องคลอด/ห้องผ่าตัด ในโรงพยาบาลชุมชน เขตภาคใต้ตอนล่าง จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1) ข้อมูลทั่วไป 2) พฤติกรรมภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของหัวหน้าในกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน เขตภาคใต้ตอนล่าง พัฒนาตามแนวคิดของกรีนลีฟ และสเบียร์ และลอเร็นซ์ ประกอบด้วย 7 ด้าน ได้แก่ การรับฟัง การมีความรู้สึกร่วม การเยียวยารักษา การตระหนักรู้ การโน้มน้าวใจ การมองการณ์ไกล และการสร้างชุมชน ด้านละ 5 ข้อ รวมทั้งสิ้น 35 ข้อ หาความเที่ยงตรงโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน มีค่า IOC ระหว่าง .67 - 1.00 ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ 0.943 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย โดยใช้สถิติพรรณนา การทดสอบที และเอฟ ทดสอบรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของหัวหน้าในกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน เขตภาคใต้ตอนล่างในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x = 4.05, SD= 0.41) 2) หัวหน้าในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน เขตภาคใต้ตอนล่างที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลที่มีขนาดและอายุต่างกัน มีพฤติกรรมภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับระดับการศึกษาและสถานภาพสมรสของไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำใฝ่บริการth_TH
dc.titleพฤติกรรมภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของหัวหน้าในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน เขตภาคใต้ตอนล่างth_TH
dc.title.alternativeServant leadership behavior of supervisors in nursing department, community hospitals, lower Southern Regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis descriptive research aimed to determine and compare level of servant leadership behavior of supervisors in nursing department, community hospitals, lower southern region, that was classified by hospital size, duration of being supervisor, educational levels, and marital status. Sample were 154 registered nurses working in the position of supervisor in nursing department including nursing directors, and head nurses of emergency department, out-patient department, in-patient department, and labor room/operating room of community hospitals, lower southern region. The research instrument was questionnaire consisted of two part: 1) general information and 2) 35-item servant leadership behavior questionnaire which based on Greenleaf and Spears & Lawrence containing 7 components: listening, stewardship, healing, awareness, persuasion, foresight and building community. Content validity was examined by three experts. The IOC ranged from .67 and 1.00. The reliability of the servant leadership behavior questionnaire was .943. Data were analyzed using descriptive statistics, t-test, F-test, and Scheffe’s method. Research results revealed that; 1) Servant leadership behavior of supervisors in nursing department, community hospitals, lower southern region was at a high level ( x = 4.05, SD= 0.41). 2) Supervisors in nursing department, community hospitals, lower southern region who worked in different hospital capacity and had different age, had significantly different servant leadership behavior (p=.05). It was not different in educational levels and marital statusen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons