Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12884
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อโณทัย งามวิชัยกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วิรัตน์ อินทรชนะ, 2522- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-04T08:31:17Z | - |
dc.date.available | 2024-10-04T08:31:17Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12884 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(การตลาด))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคในรูปแบบ โชว์รูมมิ่ง และ เว็บรูมมิ่ง ในประเทศไทย (2) เปรียบเทียบอิทธิพลของประเภทสินค้าที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคในรูปแบบ โชว์รูมมิ่ง และ เว็บรูมมิ่ง การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงทดลอง ประชากรที่ใช้ศึกษาคือผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ และ ออฟไลน์ในประเทศไทยที่มีรูปแบบการซื้อสินค้าแบบโชว์รูมมิ่ง และ เว็บรูมมิ่ง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างสำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพโดยเลือกผู้ให้สัมภาษณ์แบบเฉพาะเจาะจง ทำการสัมภาษณ์เชิงลึก นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหา เพื่อนำผลการวิจัยไปใช้ในการออกแบบการวิจัยเชิงทดลอง โดยใช้แบบทดสอบการซื้อสินค้าแยกตามประเภทของสินค้า 4 ประเภทเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการซื้อสินค้า จำนวนกลุ่มทดลอง 4 กลุ่ม ๆ ละ 50 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน 200 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และทดสอบสมมติฐานด้วยวิธีการไคว์สแควร์ เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการซื้อสินค้ากับประเภทสินค้า และนำผลการวิจัยทั้ง 2 ส่วนมาสรุปผลและอธิปรายร่วมกัน ผลการวิจัย พบว่า (1) เชิงคุณภาพสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มตัวอย่างจำนวน 42 คน ร้อยละ 64.3 มีพฤติกรรมการซื้อสินค้าในรูปแบบเว็บรูมมิ่ง มากกว่าพฤติกรรมการซื้อสินค้าในรูปแบบ โชว์รูมมึ่ง (2) พฤติกรรมทั้ง 2 รูปแบบพบในสินค้าประเภทเจาะจงซื้อมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยเชิงทดลองที่พบร้อยละของพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคในรูปแบบโชว์รูมมิ่ง และ เว็บรูมมึ่ง สูงสุดในสินค้าประเภทเจาะจง โดยผลการวิจัยเชิงคุณภาพระบุว่าเหตุผลในการซื้อสินค้าในรูปแบบทั้งสองรูปแบบ คือผู้บริโภคต้องการเห็นสินค้าจริง เพื่อเลือกให้เหมาะสมกับตนเองมากที่สุด และต้องการข้อมูลเพียงพอเพื่อประกอบการซื้อสินค้า ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบรูปแบบพฤติกรรมการซื้อสินค้ากับประเภทสินค้าพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคในรูปแบบ โชว์รูมมิ่ง และ เว็บรูมมิ่ง ในประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Consumer buying behavior with showrooming and webrooming patterns in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การตลาด) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed: (1) to study the consumer buying behavior towards the showrooming and webrooming pattern; (2) to compare the influence of product type toward consumer buying behavior with the showrooming and webrooming pattern. This research was conducted with the mixed method research between the qualitative and the experimental research. The population was consumers who bought products through online and offline channels in Thailand with showrooming and webrooming pattern. The sample recruitment for the qualitative research was purposive sampling and the in-depth interview was applied. The data was analyzed by content analysis to further design the experimental research. The 4 product types was used to compare the consumer buying behavior. The 4 experimental groups with 50 in each group were totally 200 persons. The descriptive statistics were frequency, percentage and Chi-square to compare the influence of product types toward consumer buying behavior. The results found that (1) for qualitative study with the 42 interviewees, 64.3% of them presents the buying behavior with more webrooming pattern than with showrooming pattern. (2) Both patterns of consumer buying behavior were found more with specialty products than other product types. Concordance with the result of the experimental research, the webrooming and showrooming patterns were found mostly in the specialty product. From the qualitative research, reason to both patterns of buying behavior found that they would like to see the real product to match with their need as well as sufficient information need before buying. The comparison between buying patterns and product types was significant at 0.05 level | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License