Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12885
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประภาศรี พงศ์ธนาพาณิช, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สฤษฏ์เทพ สุขแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | นงลักษณ์ อินทร์โพธิ์ทอง, 2515- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-04T08:38:34Z | - |
dc.date.available | 2024-10-04T08:38:34Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12885 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม.(การจัดการธุรกิจและการบริการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการในยุควิถีใหม่ของผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยในจังหวัดนครปฐม (2) เปรียบเทียบกระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพในยุควิถีใหม่ของผู้บริโภคสูงวัยในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยประชากรศาสตร์ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการกับกระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพในยุควิถีใหม่ของผู้บริโภคสูงวัยในจังหวัดนครปฐม การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป ในจังหวัดนครปฐม และเคยซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ จำนวน 172,211 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรของทาโร ยามาเน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน โดยวิธีการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ แมนท์วิทนีย์ ครัสคาลและวัลลิส และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการในยุควิถีใหม่ของผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงวัย ในจังหวัดนครปฐม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ด้านการขายโดยพนักงาน ด้านการโฆษณา และด้านการส่งเสริมการขาย (2) ผู้บริโภคสูงวัยที่มี เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีกระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพในยุควิถีใหม่ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตีที่ระดับ 0.05 (3) กลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกกับกระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพของผู้บริโภคสูงวัยในจังหวัดนครปฐม อยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ ถึงระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการธุรกิจและการบริการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารทางการตลาด | th_TH |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์สุขภาพ--การตลาด | th_TH |
dc.title | กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการในยุควิถีใหม่ของผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ สำหรับผู้สูงวัยในจังหวัดนครปฐม | th_TH |
dc.title.alternative | Integrated marketing communication strategy in the New Normal Era of consumer health products for the elderly in Nakorn Pathom Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการธุรกิจและการบริการ) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of the research were to study (1) the opinions of elderly people in Nakhon Pathom Province about integrated marketing communication strategies in the New Normal Era used by companies selling consumer health products for the elderly; (2) the decision-making process of elderly people in Nakhon Pathom Province before buying health products for the elderly in the New Normal Era, compared by demographic factors; and (3) the relationship between integrated marketing communication strategies and the decision-making process of elderly people in Nakhon Pathom Province before buying health products for the elderly in the New Normal Era. The research was the survey method. The study population was 172,211 people aged 60 and over in Nakhon Pathom Province who had purchased health products for the elderly. Using the Taro Yamane method, a sample size of 400 was determined. Samples were chosen by simple random sampling. The data collection tool was a questionnaire. Data were analyzed using the descriptive statistics of frequency, percentage, mean, and standard deviation and the inferential statistics of Mann-Whitney, Kruskal-Wallis and Pearson’s correlated coefficient. The results of this research were: (1) the opinions of elderly people in Nakhon Pathom Province about integrated marketing communication strategies in the New Normal Era used to sell consumer health products for the elderly were overall highly positive, with the highest approval rating scores given for the aspects of direct sales by personnel, advertising and marketing promotions. (2) Elderly consumers of different gender, age group, occupation, educational level, marital status, and monthly income used different decision-making processes before buying health products for the elderly in the New Normal Era, to a statistically significant degree at 0.05 significance. (3) Integrated marketing communication strategies were positively correlated with the decision-making process of elderly people in Nakhon Pathom Province before buying health products for the elderly to a low to medium degree that was statistically significant at 0.01 | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 27.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License