Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12892
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทธีพร มูลศาสตร์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | นพวรรณ เปียซื่อ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | อรอนงค์ เจ็กภู่, 2517- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-07T02:57:51Z | - |
dc.date.available | 2024-10-07T02:57:51Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12892 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัญหาและความต้องการการดูแลของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลัน 2) พัฒนารูปแบบการดูแลระยะกลางสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ในเขตเมือง และ 3) ศึกษาความเหมาะสมของกิจกรรมการดูแลตามรูปแบบการดูแลระยะกลางสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ในเขตเมืองกลุ่มตัวอย่างแบ่งตามขั้นตอนการวิจัย เป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาปัญหาและความต้องการการดูแลของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกึ่งเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่างเป็นเอกสารงานวิจัยที่ได้ทบทวนวรรณกรรมอย่างมีขอบเขต จำนวน 20 เรื่อง 2) ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนารูปแบบการดูแลระยะกลางสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ในเขตเมือง กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับการดูแลโรคหลอดเลือดสมอง อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และผู้ดูแล จำนวน 30 คน และ 3) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมการดูแลตามรูปแบบการดูแลระยะกลางของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ในเขตเมือง กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยบุคลากรทางสาธารณสุข แบ่งออกเป็นระดับปฏิบัติงาน จำนวน 20 คน และระดับบริหาร จำนวน 15 คน รวม 35 คน เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดถูกเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แนวทางการระดมสมอง 2) แบบสอบถามเพื่อประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมตามรูปแบบการดูแลระยะกลาง สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในเขตเมือง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติพรรณนา และข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัญหาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในระยะกึ่งเฉียบพลัน ได้แก่ ปัญหาด้านการเคลื่อนไหว ความคิด ความจำ กลืนลำบาก เกิดความเครียด วิตกกังวล ซึมเศร้า สูญเสียภาพลักษณ์แยกตัวจากสังคม ขาดรายได้ ต้องการการดูแลครอบคลุมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ 2) รูปแบบการดูแลระยะกลางสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ในเขตเมือง ประกอบด้วย กลุ่มเป้าหมายในการดูแล การรับ-ส่งข้อมูล ทีมให้การดูแลและบทบาทหน้าที่ การประเมินปัญหาและความต้องการ กิจกรรมการดูแลและการประเมินผลการดูแลทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ 3) ความเหมาะสมของกิจกรรมตามรูปแบบการดูแลระยะกลางสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในเขตเมือง อยู่ในระดับมากที่สุดทุกกิจกรรม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรคหลอดเลือดสมอง--ผู้ป่วย--การดูแล | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการดูแลระยะกลางสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในเขตเมือง | th_TH |
dc.title.alternative | Development of an intermediate care model for stroke patients in urban areas | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of the research and development were 1) to study problems and needs of care for sub-acute stroke patients 2) to develop an Intermediate Care Model for stroke patients in urban areas and 3) to study the suitability of care activities according to a medium-term care model for stroke patients in urban areas. The sample was classified according to the study phases. 1) Stage I: The sample consisted of 20 research papers with a scoping review of the literature. 2) Stage II: The sample group was public health personnel involved in stroke care, Village health volunteers, community leaders, stroke patients, and caregivers totaling 30 people. And 3) Stage III: The sample was public health personnel Divided into an operational level of 20 people and management level of 15 people, totaling 35 people. All samples were purposive sampling. The research tools were 1) a brainstorming approach; 2) a questionnaire to assess the appropriateness of Activities based on the Intermediate care model for stroke patients in urban areas. Quantitative data were analyzed using descriptive statistics. And qualitative data by content analysis. The results showed there were 1) Movement problems, thinking, memory, difficulty swallowing, stress, anxiety, depression, loss of image, Isolated from society, lacking income, requiring comprehensive care in physical, mental, social and economic aspects. 2) The Intermediate care model for stroke patients in the urban area consisted of stroke patients, data transmission, Care team and roles, Assessing problems and needs, Care activities and assessment of physical, mental, social and economic care 3) The suitability of activities according to the medium-term care model for stroke patients in the urban area, all activities were at the highest level | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License