Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12897
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบริบูรณ์ ปิ่นประยงค์th_TH
dc.contributor.authorชุลีกร นาคมีth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-10-07T03:37:59Z-
dc.date.available2024-10-07T03:37:59Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12897-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลของเกษตรกรผู้ผลิตยางก้อนถ้วย(2) ปัจจัยภายในที่มีผลต่อการตัดสินใจผลิตยางก้อนถ้วยของเกษตรกรชาวสวนยางพารา (3) ปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการตัดสินใจผลิตยางก้อนถ้วยของเกษตรกรชาวสวนยางพารา และ (4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการตัดสินใจผลิตยางก้อนถ้วยของเกษตรกรชาวสวนยางพาราในเขตอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลกการศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรคือ เกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ทำการเปิดกรีดยางแล้วในเขตอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 2,259 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการคำนวณตามสูตรของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวนทั้งสิ้น 340 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบการจัดสรรโควตา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า 1) เกษตรกรชาวสวนยางพาราในเขตอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลกส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 21-30 ปี การศึกษาส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา รายได้ขายยางเฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 10,001-15,000 บาท มีประสบการณ์ทำยางพารา 6-10 ปี มีลักษณะพื้นที่ปลูกยางพาราเป็นพื้นที่เขา เนื้อที่สวนยางพาราเป็นสวนยางขนาดเล็ก และมีจำนวนแรงงานภาคการเกษตร2-4 คน 2) ปัจจัยภายในที่มีผลต่อการตัดสินใจผลิตยางก้อนถ้วยอยู่ในระดับการตัดสินใจปานกลางโดยองค์ประกอบของปัจจัยภายใน ด้านประสบการณ์ทำยางพารา และปริมาณน้ำยาง มีค่ามากที่สุดสองอันดับแรก 3) ปัจจัยภายนอกมีผลต่อการตัดสินใจผลิตยางก้อนถ้วยอยู่ในระดับการตัดสินใจปานกลาง โดยองค์ประกอบของปัจจัยด้านคุณภาพยางพาราเป็นที่ต้องการของตลาด และระยะทางของจุดรับซื้อ มีค่ามากที่สุด สองอันดับแรก 4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายในกับปัจจัยภายนอก มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในระหว่างตัวแปรมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectยางพารา--การผลิตth_TH
dc.subjectการตัดสินใจผลิตเองหรือจัดซื้อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจผลิตยางก้อนถ้วยของเกษตรกรชาวสวนยางพาราในเขตอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the decision to produce the cup lump rubber of rubber farmers in Wang Thong District Phitsanulok Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study (1) the information of the farmers who produced the cup lump rubbers; (2) the internal factors affecting the decision to produce the cup lump rubbers of rubber farmers; (3) the external factors affecting the decision to produce the cup lump rubbers of rubber farmers; and (4) the relationship between the internal factors and the external factors affecting the decision to produce the cup lump rubbers of rubber farmers in Wang Thong District, Phitsanulok Province. The population of this survey research were 2,259 rubber farmers who had tapped the rubbers in Wang Thong District, Phitsanulok Province. The sample size was 340 rubber farmers, determined by using Taro Yame’s Formula. The sampling method was the quota sampling. A constructed questionnaire was used as an instrument for this study. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson Product Moment Correlation Coefficient. The results of this study indicated that: 1) most of the rubber farmers in Wang Thong District, Phitsanulok Province, were male in the age of 21-30 years old, with education level of primary school, average monthly income of rubber sales from 10,001- 15,000 baht, experience in rubber plantation for 6-10 years, the landscape of the rubber plantation area was a hill area, with the small-sized rubber plantation space, and 2-4 workers in agricultural sector; 2) the internal factors affecting the decision to produce the cup lump rubbers were at a moderate level, with rubber plantation experiences and the latex quantity earned at the highest level respectively; 3) the external factors affecting the decision to produce the cup lump rubbers were at a moderate level, with the quality of rubber needed from the market and the distance of the buyers at the highest level respectively; 4) the relationship between the internal factors and the external factors was positively associated within variables with a statistical significance at the level of 0.01en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_163363.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons