Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12898
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุธิดา มาสุธน, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วรัชยา ทิมา, 2522- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-07T03:38:03Z | - |
dc.date.available | 2024-10-07T03:38:03Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12898 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลของแนวปฏิบัติการพยาบาลในการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดตนเอง ที่มีต่อความวิตกกังวล ความพร้อมในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ ความพึงพอใจของผู้ป่วย และความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ การวิจัยและพัฒนานี้กลุ่มตัวอย่างได้รับการคัดเลือกแบบเจาะจง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) ผู้ป่วยที่เตรียมปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดตนเองที่โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จำนวน 20 คน 2) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานที่หน่วยปลูกถ่ายไขกระดูก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) ประเด็นการสนทนากลุ่ม 2) แนวปฏิบัติการพยาบาลในการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดตนเอง 3) แบบสอบถามเกี่ยวกับความวิตกกังวล ความพร้อมในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และความพึงพอใจของผู้ป่วย และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน แบบสอบถามที่ 3 มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.87, 0.85 และ 0.98 ตามลำดับ และมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.86 , 0.83 และ 0.82 ตามลำดับ แบบสอบถามที่ 4 มีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.82 และมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.87 โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติวิลคอกซันซายแรงค์ ผลการวิจัยพบว่า แนวปฏิบัติการพยาบาลในการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดตนเอง ประกอบด้วย 1) การเตรียมผู้ป่วยในระยะก่อน ขณะ และหลังปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต และ 2) การเตรียมทีมดูแลผู้ป่วย ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลที่พัฒนาขึ้น พบว่า 1) ความวิตกกังวลของผู้ป่วยหลังใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลน้อยกว่าก่อนใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p <. 05) 2) ความพร้อมในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และความพึงพอใจของผู้ป่วยหลังใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลสูงกว่าก่อนใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p <. 05) และ 3) ความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพหลังใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลสูงกว่าก่อนใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (p <. 05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การปลูกถ่ายเซลล์--การพยาบาล | th_TH |
dc.title | การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการเตรียมผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดตนเอง โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ | th_TH |
dc.title.alternative | The development of a nursing practice guideline for preparation of autologous stem Cell transplantation Sunpasitthiprasong Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to develop and evaluate the outcomes of a nursing practice guideline in preparing patient receiving autologous stem cell transplantation on patient’s anxiety, readiness to practice health behaviors, and satisfaction as well as professional nurse’s satisfaction at Sunpasitthiprasong hospital. The research and development study was applied. The purposive sampling was composed of two groups: 1) 20 patients who were planned to undergoing autologous stem cell transplantation, and 2) 10 professional nurses who have worked at stem cell transplantation unit. The research tools were 1) group discussion issues, 2) a nursing practice guideline in preparing patient receiving autologous stem cell transplantation, 3) questionnaire on patient anxiety, readiness for action, health behavior and satisfaction, and 4) professional nurse satisfaction questionnaire. The research tools were verified by five experts. The content validity index of the third questionnaire was 0.87, 0.85 and 0.98 respectively and Cronbach's alpha coefficient was 0.86, 0.83, and 0.82 respectively. The content validity index of the fourth questionnaire was 0.82 and Cronbach's alpha coefficient was 0.87. Data were analyzed by descriptive statistic and Wilcoxon signed rank test. The finding were as follows. A nursing practice guideline in preparing patient receiving autologous stem cell transplantation was composed of 1) preparation of patient for pre-transplantation, during- transplantation and post-transplantation, and 2) preparation of care team members. The outcomes of the developed nursing practice guideline were as follow. 1) the patient anxiety after using the nursing practice guideline was significantly less than before using the nursing guideline (p<.05). 2) the readiness to practice health behaviors and patient satisfaction after using the nursing guideline were significantly higher than before using the nursing guideline (p<.05). Lastly, 3) the satisfaction of professional nurses after using the nursing practice guideline was significantly higher than before using the nursing practice guideline (p<.05) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License