Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12912
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กุลชลี จงเจริญ | th_TH |
dc.contributor.author | ธนวรรณ วิฆเนศ, 2535- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-07T07:48:21Z | - |
dc.date.available | 2024-10-07T07:48:21Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12912 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาระดับสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของครู และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 ปีการศึกษา 2565 กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 322 คน จากนั้นทำการสุ่มแบบชั้นภูมิตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาและสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของครู มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .97 และ .96 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการ ด้านความรู้และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ด้านการใช้เทคโนโลยีในการวัดและการประเมินผล ด้านการสนับสนุนการจัดการและการปฏิบัติโดยใช้เทคโนโลยี ด้านความรู้ทางกฎหมายและจริยธรรมการใช้เทคโนโลยี และด้านความเป็นผู้นำและการมีวิสัยทัศน์ 2) สมรรถนะด้านเทคโนโลยีของครู โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ เจตคติด้านเทคโนโลยีของครู ความรู้ด้านเทคโนโลยีของครู และทักษะด้านเทคโนโลยีของครู และ 3) ภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของครูมีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษากับสมรรถนะด้านเทคโนโลยีของครูในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between technological leadership of school administrators and the technological competency of Teachers under Phra Nakhon Si Ayutthaya Primary Educational Service Area Office 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) the level of technological leadership of school administrators; 2) the level of technological competency of teachers; and 3) the relationship between technological leadership of school administrators and technological competency of teachers under Phra Nakhon Si Ayutthaya Primary Educational Service Area Office 1. The research sample consisted of 322 teachers in schools under Phra Nakhon Si Ayutthaya Primary Educational Service Area Office 1 in the academic year 2022, obtained by stratified random sampling. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The employed research instrument was a questionnaire on the level of technological leadership of school administrators and the level of technological competency of teachers, with reliability coefficients of .97 and .96, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson's product-moment correlation coefficient. The research findings showed that 1) both the overall and specific technological leadership of school administrators were rated at the high level. When specific aspects of technological leadership of school administrators were considered, they could be ranked from top to bottom as follows: the use of technology in management, the knowledge and ability to use technology in teaching, the use of technology in measurement and evaluation, the technological support, management, and implementation, the knowledge of legal and ethics in using of technology, and the leadership and having vision; 2) both the overall and specific technological competency of teachers were rated at the high level. When specific aspects of technological competency of teachers were considered, they could be ranked from top to bottom as follows: the attitudes toward technology of teachers, the knowledges toward technology of teachers, the skills toward technology of teachers; and 3) the school administrators’ technological leadership positively correlated at the moderate level with the teachers’ technological competency, which were significant at the .01 level of statistical significance | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 21.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License