Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12920
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีราภรณ์ สุธัมมสภาth_TH
dc.contributor.authorอภิญญา โรจนพานิชth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-10-08T08:21:01Z-
dc.date.available2024-10-08T08:21:01Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12920-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสำเร็จในการนำระบบลีนมาใช้ของ บริษัท ไฮ-เทค แอพพาแรล จำกัด (สำนักงานใหญ่) (2) ศึกษาปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอกของ บริษัท ไฮ-เทค แอพพาแรล จำกัด (สำนักงานใหญ่) (3) เปรียบเทียบความสำเร็จในการนำระบบลีนมาใช้ของ บริษัท ไฮ-เทค แอพพาแรล จำกัด (สำนักงานใหญ่) จำแนกตามระดับการศึกษา และตำแหน่งงาน และ (4) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผล ต่อความสำเร็จในการนำระบบลืนมาใช้ของ บริษัท ไฮ-เทค แอพพาแรล จำกัด (สำนักงานใหญ่) ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ที่มีส่วนร่วมต่อการนำระบบลืนมาใช้ของ บริษัท ไฮ-เทค แอพพาเรล จำกัด (สำนักงานใหญ่) ระหว่างปี พ.ศ. 2550-2554 จำนวน 41 คน โดยทำการศึกษาจากประชากร ทั้งหมด ครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และทำการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารระดับผู้นำทีมพัฒนาระบบลีน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยประชากรส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ความสำเร็จในการนำระบบลืนมาใช้ในบริษัท ไฮ-เทค แอพพาเรล จำกัด (สำนักงานใหญ่) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีการลดความสูญเปล่าจากการขนถ่ายที่ไม่จำเป็น มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการลดความสูญเปล่าจากการมีกระบวนการมากเกินไป และน้อยที่สุดคือ ด้านการลดความสูญเปล่าจากการมีของเสีย (2) ปัจจัยภายในที่เกี่ยวข้องกับการนำระบบลืนมาใช้ใน บริษัท ไฮ-เทค แอพพาเรล จำกัด (สำนักงานใหญ่) ที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดได้แก่ การปฏิบัติการ และกระบวนการผลิต ส่วนปัจจัยภายนอกที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ความคาดหวังของลูกค้า (3) ผู้ตอบแบบสอบถามในทุกระดับการศึกษามีความคิดเห็นต่อความสำเร็จในการนำระบบลืนมาใช้ในบริษัท ไฮ-เทค แอพพาเรล จำกัด (สำนักงานใหญ่) ไม่แตกต่างและผู้ตอบแบบสอบถามที่มีตำแหน่งงานต่างกันในทุกระดับมีความคิดเห็นต่อความสำเร็จในการนำระบบลีนมาใช้ในบริษัท ไฮ-เทค แอพพาเรล จำกัด (สำนักงานใหญ่) แตกต่างกัน โดยผู้ตอบแบบสอบถามในระดับผู้จัดการ มีความคิดเห็นต่อความสำเร็จอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน ในขณะที่ตำแหน่งอื่นๆ มีความคิดเห็นต่อความสำเร็จอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้านการลดความสูญเปล่าจากการขนถ่ายที่ผู้ตอบแบบสอบถามในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ชำนาญการมีความเห็นด้วยอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นกัน และ (4) ปัจจัยภายในด้านการบริหารและการพัฒนาบุคลากรเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำระบบลีนมาใช้ในบริษัท ไฮ-เทค แอพพาเรล จำกัด(สำนักงานใหญ่) โดยมีความสัมพันธ์อยู่ในระดับมากในทิศทางเดียวกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการผลิตแบบลีนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำระบบลีนมาใช้ของ บริษัท ไฮ-เทค แอพพาเรล จำกัด (สำนักงานใหญ่)th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting Lean system implementation of Hi-Tech Apparel Company Limited (Head Office)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study the achievement of Lean system implementation of Hi-Tech Apparel Company Limited (Head Office); (2) to study internal and external factors of Hi-Tech Apparel Company Limited (Head Office); (3) to compare the achievement of Lean system implementation of Hi-Tech Apparel Company Limited (Head Office) classified by educational level and work position; and (4) to study factors affecting Lean system implementation of Hi-Tech Apparel Company Limited (Head Office). Population was 41 persons who participating in Lean system implementation of Hi-Tech Apparel Company Limited (Head Office) during the year 2007-2011. The study was done among the total of population. Research instrument for data collecting was a questionnaire and in-depth interview form with Lean system executive team leaders. Data analysis employed descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson correlation coefficient. The resulted of this study were: ( 1) an overview image of the achievement of Lean system implementation of Hi-Tech Apparel Company Limited (Head Office) was at high level. There was waste reduction from unnecessary transferring at the highest mean, followed by the waste reduction from too long processes and the waste reduction from production was at the lowest mean; (2) the implementation and production process was at the highest mean of internal factors whereas the customers’ expectation was at the highest mean of external factors; (3) the respondents in all education level gave opinions on the achievement of Lean system implementation of Hi-Tech Apparel Company Limited (Head Office) indifferently. The respondents who had different position gave opinions on the achievement of Lean system implementation of Hi-Tech Apparel Company Limited (Head Office) differently. The respondents in managerial level gave opinions on the achievement at the highest level in all aspects, whereas those who were at other positions gave opinions on the achievement at high level except for the waste reduction from transferring that the respondents who were expert officers gave opinions at the highest level as well; and (4) internal factor in term of administration and human resource management affected the achievement of Lean system implementation of Hi-Tech Apparel Company Limited (Head Office) with highly positive correlation.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_158520.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons