Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12930
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาภรณ์ ศรีดีth_TH
dc.contributor.authorเศกสรรค์ วรรณพงษ์, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-11-08T03:01:51Z-
dc.date.available2024-11-08T03:01:51Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12930-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม 2) ปัญหาและอุปสรรคในการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการรณรงค์การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของชุมชนพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลโนนหอม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร การวิจัยนี้เป็นวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกใช้เครื่องมือคือแบบสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้าง เลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจงจากผู้ที่มีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการณรงค์ในพื้นที่และในเรื่องดังกล่าว รวมทั้งหมด 31 คน ได้แก่นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโนนหอม 1 คน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลโนนหอม 1 คนผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม 1 คน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลโนนหอม 1 คน เจ้าหน้าที่เทศบาลด้านงานสิ่งแวดล้อม 1 คน เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลโนนหอม 1 คน พนักงานในการเก็บขนขยะ 1 คนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 2 คน และประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลโนนหอม 22 คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการสร้างข้อสรุป ผลการวิจัย พบว่า 1) กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การร่วมให้ข้อมูลข่าวสาร (2) การร่วมปรึกษาหารือให้ข้อคิดเห็น (3) การร่วมวางแผนวางนโยบายแก้ปัญหา (4) การร่วมทำกิจกรรมในชุมชน และ (5) การร่วมประเมินผลกิจกรรม 2) ปัญหาและอุปสรรคในการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการรณรงค์การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน มี 5 ปัญหา ได้แก่ (1) การสื่อสารข้อมูลที่ไม่เป็นความจริง (2) การสื่อสารข้อมูลไม่ครบถ้วน (3) การสื่อสารล่าช้า (4) เมื่อมีปัญหาและข้อสงสัยไม่กล้าสอบถามและ (5) การไม่ทวนสอบความเข้าใจในการสื่อสารth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectขยะ--การจัดการ--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการสื่อสารth_TH
dc.titleการสื่อสารเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการรณรงค์การจัดการขยะมูลฝอย ของชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบล ตำบลโนนหอม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeParticipatory communication strategies in a waste management campaign in Non Hom Sub-district, Mueang Sakon Nakhon District, Sakon Nakhon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the waste management campaign in the community of Non Hom Subdistrict Administrative Organization, Mueang District, Sakon Nakhon Province regarding 1) the process of communication to encourage participation; and 2) the challenges in the communication. This was a qualitative research. Data were collected through in-depth interviews using a semi-structured interview. A total of 31 key informants were chosen through purposive sampling from among people who had vital role in communication to encourage participation in a waste management campaign in the study area, comprising the chairman of Non Hom Subdistrict Administrative Organization, the permanent secretary of Non Hom Subdistrict Administrative Organization, the director of the local Social Welfare Division, the director of the Non Hom Subdistrict Health Promotion Hospital, one municipal employee in charge of environmental issues, one employee of Non Hom Subdistrict Health Promotion Hospital in charge of environmental work, one trash collector, 2 neighborhood public health volunteers, and 22 residents of Non Hom Subdistrict. Data were analyzed to draw conclusions. The results showed that 1) there were 5 steps in the communication process: (a) participation in sharing news and information; (b) participation in consulting and sharing opinions; (c) participation in planning, policy making and solving problems; (d) participation in community activities; and (e) participation in evaluating activities. 2) Five main challenges encountered in participatory communication for the waste management campaign: (a) some of the information communicated was inaccurate; (b) some of the information was incomplete; (c) sometimes communication was slow; (d) some participants hesitated to ask questions when they were confused or uncertain; and (e) some participants did not ask for feedback or clarification to verify their understanding.en_US
dc.contributor.coadvisorหัสพร ทองแดงth_TH
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons