Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12931
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิทยาธร ท่อแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | นันทวัชร โคตรวงค์, 2514- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-11-08T03:19:55Z | - |
dc.date.available | 2024-11-08T03:19:55Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12931 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการการสื่อสารเพื่อสร้างความนิยมทางการเมืองของว่าที่ผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนตำบลดงชน จังหวัดสกลนครเกี่ยวกับ 1) กระบวนการสื่อสาร และ 2) แนวทางการพัฒนาการสื่อสารการวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก เลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจงจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสื่อสารการสร้างความนิยมของว่าที่ผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนตำบลคงชนโดยตรง รวมจำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการสร้างข้อสรุป ผลการศึกษาพบว่า 1) กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างความนิยมทางการเมือง ประกอบด้วย (1) ผู้ส่งสารเป็นผู้ที่มีความน่าเชื่อถือและเป็นผู้นำทางความคิดประกอบด้วยว่าที่ผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนตำบลคงชน ทีมปฏิบัติการสื่อสาร กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข และผู้นำศาสนา (2) สาร มีประเด็นหลัก คือ อุดมการณ์ ประวัติ คุณลักษณะผู้นำ นโยบายการพัฒนาตำบล แนวทางการบริหารท้องถิ่น (3) ช่องทางการสื่อสาร มีความหลากหลายโดยใช้แบบผสมผสาน ซึ่งประกอบด้วยสื่อบุคคล สื่อส่งพิมพ์ ป้ายประชาสัมพันธ์ เว็บไซต์ สื่อออนไลน์ ได้แก่ เฟซบุ๊กฮักนะตำบลคงชน ไลน์กลุ่มตำบลคงชน ไลน์กลุ่มหมู่บ้านในตำบลดงชน และยูทูป (4) ผู้รับสารเป็นผู้มีอิทธิต่อการสนับสนุนการใช้สิทธิ์ในการเลือกตั้ง ประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำศาสนาประชาชน และสื่อมวลชน (5) ผลการสื่อสารที่คาดหวัง คือ ว่าที่ผู้สมัครต้องมีภาพลักษณ์ทางการเมืองที่ดีมีพฤติกรรมที่น่าเชื่อถือไว้วางใจ ประชาชนในตำบลมีความนิยมชมชอบต่อว่าที่ผู้สมัครทั้งแนวคิด อุดมการณ์วิสัยทัศน์ แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น และกลุ่มเป้าหมายพร้อมเป็นเครือข่ายสนับสนุนในการหาเสียงการเลือกตั้ง 2) แนวทางการพัฒนาการสื่อสารเพื่อสร้างความนิยมทางการเมือง ต้องกำหนดภาพลักษณ์ใช้ชัดเจนเพื่อเป็นนักบริหารการพัฒนามืออาชีพ มีประสบการณ์ด้านการบริหารองค์การปกครองท้องถิ่น เป็นนักการเมืองที่ทุ่มเทกับการทำงาน นักการเมืองที่มุ่งเสนอแนวทางการทำงานเพื่อแก้ปัญหาของประชาชนไม่โจมตีคู่แข่ง และนำเสนอนโยบายที่ชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง รวมทั้งต้องพัฒนาประเด็นสารวิธีการนำเสนอผ่านสื่อให้หลากหลาย โดนใจ มีคุณภาพที่ดี เพื่อตอกย้ำการเป็นผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้รับสารที่เป็นกลุ่มเป้าหมายเฉพาะในตำบลคงชน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การสื่อสารทางการเมือง--ไทย | th_TH |
dc.title | การสื่อสารเพื่อสร้างความนิยมทางการเมืองของว่าที่ผู้สมัครนายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลดงชน จังหวัดสกลนคร | th_TH |
dc.title.alternative | Communications to gain political popularity in comimg candidate to the position of chief executive of Dong Chon Sub-district Administrative Organization, Sakon Nakhon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study the communication management to gain political popularity for a candidate to the position of chief executive of Dong Chon Sub-district Administrative Organization, Sakon Nakhon Province, in terms of 1) the communication process; and 2) approaches for improving communication. This was a qualitative research based on in-depth interviews. The twenty-two key informants were chosen by purposive sampling from among people directly involved with the management of communications to build political popularity for a candidate to the position of chairman of Dong Chon Sub-district Administrative Organization. Data were collected with a semi-structured interview form and were analyzed deductively. The results showed that 1) the communication process consisted of (1) The message senders, who were credible people and ideological leaders, including the candidate himself, members of the communications team, sub-district headmen and village headmen, community leaders, public health volunteers and religious leaders; (2) the messages were mostly about the candidate’s ideals, background, leadership capabilities, local development plans and management style; (3) the communication channels were a diverse range of mixed media including personal media, print media, posters, websites, and online media including the Dong Chon Sub-district Hugna on Facebook platform, the Dong Chon Sub-district Line group, Line groups of neighborhoods within the sub-district, and Youtube; (4) the message receivers were the local who could influence voting behavior, including sub-district headmen, village headmen, community leaders, public health volunteers, religious leaders, journalists and other citizens; (5) the expected results of communication were that the candidate would have a good image, trustworthy, convincing idea, clear concepts, vision, and local development plans, then the target groups would be willing to act as a network to support his campaign. 2) Approaches for improving communication are to clearly define the candidate’s desired image as a professional administrator with experience in managing local development, a dedicated and hard-working public servant, and a politician who is focused on solving the public’s problems more than confronting opponents; and to clearly define the policies as practical and workable. Also, the messages to be communicated via a variety of media should be striking and make a strong impression on the target audience and convince them that the candidate is the kind of administrator they are looking for | en_US |
dc.contributor.coadvisor | กานต์ บุญศิริ | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License