Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีปth_TH
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ ปัจจัยโค, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-11-15T02:31:04Z-
dc.date.available2024-11-15T02:31:04Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12946-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม (วิทยาศาสตร์ศึกษา))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง วัสดุและสสาร และ 2)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง วัสดุและสสาร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองปรือ จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 22 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง วัสดุและสสาร 2) แบบประเมินความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ และ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาความถี่ ร้อยละ และความก้าวหน้าทางการเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนทุกคน ก่อนเรียน อยู่ในระดับปรับปรุง หลังเรียนความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น อยู่ในระดับดี จำนวน 7 คน (ร้อยละ 31.82) อยู่ในระดับพอใช้ จำนวน 13 คน (ร้อยละ 59.09) และอยู่ในระดับปรับปรุง จำนวน 2 คน (ร้อยละ 9.09) และ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เมื่อคิดระดับความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียน พบว่า มีความก้าวหน้าทางการเรียนรายชั้นอยู่ในระดับปานกลาง ( =0.31)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--นครราชสีมาth_TH
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์โดยการจัดการเรียนรู้แบบจำลองเป็นฐานเรื่อง วัสดุและสสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านหนองปรือ จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeThe developing scientific explanations and science learning achievement by using model based instruction in the topic of materials and matter of Prathom Suksa 4 students at Nongprue School in Nakhonratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to compare the level of scientific explanation ability of Prathom Suksa IV students at Nongprue School, Nakhonratchasima province before and after learning through model-based instruction in the topic of materials and matter; and 2) to compare science learning achievement of Prathom Suksa IV students at Nongprue School, Nakhonratchasima province before and after learning through model-based instruction in the topic of materials and matter. The research sample consisted of 22 Prathom Suksa IV students studying in the second semester of the academic year 2020 at Nongprue School, Nakhonratchasima province, obtained by purposive sampling. The employed research instruments were 1) model-based instruction lesson plans in the topic of materials and matter, 2) a scientific explanation ability assessment form, and 3) a science learning achievement test. The data were analyzed by using the content analysis, frequency, percentage and class normalized gain. The results of the research were as follows: 1) the ability to create scientific explanations of all students before learning was at the improvement needed level. While after-learning, their scientific explanations abilities increased, 7 students (31.82%) were at a good level, 13 students (59.09%) were at a fair level, and 2 students (9.09%) were at an improvement needed level, and 2) After learning, the students’ science learning achievement was higher than their before-learning counterpart achievement, and the class normalized gain was at a medium level (<g> = 0.31).en_US
dc.contributor.coadvisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons