Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12956
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญth_TH
dc.contributor.authorกชพรรณ รักเมือง, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-11-20T01:54:31Z-
dc.date.available2024-11-20T01:54:31Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12956-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปและสภาพการผลิตแพะเนื้อเชิงธุรกิจ 2) ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตแพะเนื้อเชิงธุรกิจ 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะการเลี้ยงแพะเนื้อเชิงธุรกิจ 4) การได้รับและความต้องการการส่งเสริมการเลี้ยงแพะเนื้อเชิงธุรกิจ และ 5) วิเคราะห์และสังเคราะห์แนวทางการส่งเสริมการเลี้ยงแพะเนื้อเชิงธุรกิจของเกษตรกรประชากร คือ เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะเนื้อในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 557 ราย กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรการคำนวณของทาโร ยามาเน ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 233 รายสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ใช้แบบสัมภาษณ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรร้อยละ 71.1 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 46.98 ปี ประสบการณ์ในการเลี้ยงเฉลี่ย 4.40 ปี เลี้ยงแบบขังคอกตลอดเวลา ใช้อาหารข้นควบคู่กับอาหารหยาบ มีขนาดฝูง 35.5 ตัว ใช้สายพันธุ์ลูกผสมเป็นสายพันธุ์หลัก ปริมาณแพะที่ผลิตได้เฉลี่ย 29.18 ตัวต่อปี จำหน่ายในรูปแบบแพะมีชีวิต ที่น้ำหนักเฉลี่ย 27.30 กิโลกรัมต่อตัว ในราคาเฉลี่ย 134.80 บาทต่อกิโลกรัม โดยเกษตรกรจำหน่ายด้วยตนเองภายในจังหวัด 2) ต้นทุนการผลิตแพะต่อรุ่น เฉลี่ย 89,531.11 บาท ผลตอบแทนการผลิตต่อรุ่น เท่ากับ 131,576.09 บาท กำไรสุทธิต่อรุ่น เท่ากับ 42,044.89 บาท คิดเป็นต้นทุนการผลิตแพะเฉลี่ยต่อตัว เท่ากับ 3,067.62 บาท และผลตอบแทนการผลิตแพะเฉลี่ยต่อตัว เท่ากับ 1,440.88 บาท 3) ปัญหาในการเลี้ยงแพะ ได้แก่ ขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ และข้อเสนอแนะ ได้แก่ ต้องการให้เจ้าหน้าที่ลงมาเยี่ยมเยียนเกษตรกร 4) การได้รับการส่งเสริมในภาพรวมอยู่ในระดับน้อยที่สุด และมีความต้องการการส่งเสริมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ข้อที่เกษตรกรต้องการการส่งเสริมมากที่สุด คือ การตรวจสุขภาพสัตว์ และ 5) แนวทางการส่งเสริม พบว่า การลงทุนเลี้ยงแพะเนื้อของเกษตรกรมีความเป็นไปได้ในเชิงธุรกิจ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างการได้รับกับความต้องการการส่งเสริม พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งตัวแปรที่มีผลต่อปัจจัยความต้องการการส่งเสริม (Y) ได้แก่ประสบการณ์ (x2) จำนวนแม่พันธุ์ (x5) ขนาดฝูง (x6) และราคาแพะ (x8) โดยสมการสามารถทำนายความสำเร็จได้ร้อยละ 10.3 ได้สมการถดถอยพหุคูณ Y = a -. 166x2 + .163x5+ 1.88x6- .163x8 และสังเคราะห์แนวทางการส่งเสริมโดยใช้แบบจำลองการสื่อสาร (SMCR) ซึ่งมีเจ้าหน้าที่รัฐ เป็นผู้ส่งสาร ให้องค์ความรู้ตามความต้องการของเกษตรกร ผ่านช่องทาง ได้แก่ ระบบการเยี่ยมเยียน และอบรมเชิงปฏิบัติการ ไปยังเกษตรกร โดยใช้แนวทางการพัฒนาจากการสังเคราะห์ในการดำเนินการส่งเสริมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectแพะ--การเลี้ยงth_TH
dc.titleการส่งเสริมการเลี้ยงแพะเนื้อเชิงธุรกิจของเกษตรกรในจังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeExtension of business goat farming of farmers in Suratthani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study 1) general and production conditions 2) production costs and returns 3) problems and suggestions 4) the acquisition and need for extension and 5) the analysis and synthesis of extension guidelines. The population of this research was 557 goat farming farmers in Suratthani province. The sample size of 233 was determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.05 and simple random sampling method. Data were collected by conducting interview. Statistics used were such as frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test, multiple regression analysis, and content analysis. The results of the research found out that 1) 71.1% of farmers were male with the average age of 46.98 years old. They had the average experience in goat raising of 4.40 years. The goats were raised in the confined pens at all time with the average goat productivity of 29.18 goats/year. Farmers sold live goats with the average weight of 27.30 kilogram/goat at the average price of 134.80 Baht/kilogram by themselves within the province. 2) The average goat production cost per group was 89,531.11 Baht, the return for goat production per goat group was 131,576.09 Baht, and the net profit per group was 42,044.89 Baht. The calculated production cost per one goat equaled to 3,067.62 Baht and the production return per goat was 1,440.88 Baht. 3) Problem in goat farming was such as the lack of support from government agencies. Suggestion would be to have the officers visiting the farmers. 4) The acquisition of the extension, overall, was at the lowest level. They wanted to receive the extension, overall, at the high level with the most wanted aspect for the extension on animal health check. 5) Regarding the extension guideline, it revealed that the investment on goat farming of farmers had the business potential. In comparing between the acquisition and need for extension showed that there was statistically significant level of difference at 0.05. The variables affecting the extension needs (Y) were such as experience (x2), the size of the flock (x5), maternal number (x6) and the goat price (x8), which resulted in multiple linear regression equation Y = a -.166x2 + .163x5+ 1.88x6- .163x8. The equation was able to successfully predict at 10.3%. The synthesis of the extension guidelines would be done by using communication theory (SMCR) which had the government officers as the message sender, giving the knowledge according to the needs of farmers through channels such as visitation system and practice training to farmers by using the development guidelines from the synthesis in the extension operationen_US
dc.contributor.coadvisorจินดา ขลิบทองth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons