Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12958
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพลสราญ สราญรมย์th_TH
dc.contributor.authorคนิสริน เย็นไทย, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-11-20T02:24:57Z-
dc.date.available2024-11-20T02:24:57Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12958-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานส่วนบุคคล เศรษฐกิจและสังคม 2) แรงจูงใจ 3) ความต้องการ 4) การยอมรับ และ 5) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการเข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตเพื่อ การบริหารจัดการเชิงรุกของเกษตรกรประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรที่เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุกของกรมพัฒนาที่ดินในพื้นที่จังหวัดมุกดาหาร ปีงบประมาณ 2564 จำนวน 250 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร ยามาเน ที่ระดับค่าความคลาดเคลื่อน 0.07 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ได้กลุ่มตัวอย่าง 113 รายสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 53.87 ปี จบชั้นประถมศึกษา จำนวนสมาชิกในครัวเรือน เฉลี่ย 4.96 คน ประสบการณ์ในการทำการเกษตรเฉลี่ย 30.93 ปี พื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 17.29 ไร่ รายได้ของครัวเรือนเฉลี่ย 141,309.73 บาท/ปี มีการปรับโครงสร้างให้มีคันดินเพิ่มขึ้น ปรับเปลี่ยนเป็นเกษตรผสมผสาน ได้รับการสนับสนุนปูนโดโลไมท์ ได้รับข้อมูลข่าวสารจากเจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดิน 2) เกษตรกรมีแรงจูงใจอยู่ในระดับมาก ด้านการได้รับการส่งเสริมงบประมาณสนับสนุนการปรับเปลี่ยนกิจกรรมในพื้นที่จากภาครัฐ โดยที่เกษตรกรไม่มีค่าใช้จ่าย 3) เกษตรกรมีความต้องการปัจจัยการผลิต เช่น ปูนโคโลไมท์พืชปุ๋ยสด ปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ อยู่ในระดับมากที่สุด 4) เกษตรกรยอมรับเชิงเนื้อหา ในระดับมากที่สุด เฉลี่ย15.61 ข้อ โดยร้อยละ 96.5 ยอมรับการใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด. 3 เพื่อควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืช และยอมรับเชิงปฏิบัติ ในระดับมากที่สุด เฉลี่ย 8.58 ข้อ โดยร้อยละ 97.3 ยอมรับการใช้สารเร่งซุปเปอร์ พด. 1 เพื่อผลิตปุ๋ยหมัก5) เกษตรกรส่วนใหญ่มีปัญหาต้นทุนการผลิตสูง ผลผลิตต่อไร่ต่ำ การเข้าถึงข้อมูลโครงการฯ ผ่านสื่อออนไลน์ต่าง ๆ และการเข้าถึงแหล่งเงินทุน สินเชื่อต่าง ๆ เสนอแนะให้สนับสนุนปัจจัยการผลิตอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ พันธุ์ปลา ปุ๋ยหมักและพืชปุ๋ยสด และควรส่งเสริมการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการบริหารการเกษตรth_TH
dc.subjectการบริหารการเปลี่ยนแปลงth_TH
dc.subjectการบริหารงานผลิตth_TH
dc.titleการยอมรับโครงการปรับเปลี่ยนการผลิตเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก ของเกษตรกรในจังหวัดมุกดาหารth_TH
dc.title.alternativeAdoption of the production change by Agri-Map project of farmers in Mukdahan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research covered the study of the basic condition of the farmers and their socio-economic status, the motivation, needs, and adoption of the Agri-Map project as well as problems and suggestions for participating in zoning by the Agri-Map project of farmers. From the 250 farmers who participated in the zoning by the Agri-Map project of the Department of Land Development in the area of Mukdahan Province, in the fiscal year 2021, a sample of 113 cases was taken. The statistics used in the data analysis were frequency, percentage, mean, minimum, maximum, and standard deviation. The results of the research showed the following. 1) most of the farmers were female, with an average age of 53.87 years. They completed elementary school with an average farming experience of 30.93 years. The number of household members averaged 4.96 while their farm has a mean area of 17.29 rai. The average household income amounted to 141,309.73 baht per year. They also had a restructuring to have more land embankments, conversion to integrated agriculture, dolomite mortar support, and information received from the Department of Land Development officials. 2) farmers had a high level of incentives to receive budget support from the government sector, without the farmer’s cost for changing activities in the area. 3) farmers put a high premium on inputs such as dolomite lime, fresh manure, compost, and bio-fermented water. 4) the farmers ranked high the acceptance of content which scored 15.61, of which 96.5% accepted the use of super LDD 3 to control plant pathogens. Those with an average rank for practice acceptance which scored 8.58 had a 97.3% which accepted the use of super LDD 1 for compost production. 5) most farmers had problems with high production costs, low yield per rai, access to project information through various online media, and access to funding and various credits. They suggested continuous support for inputs such as fish, compost, and green manure, and promotion of the arrangement of soil and water conservation systemsen_US
dc.contributor.coadvisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริมth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons