Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12964
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภาth_TH
dc.contributor.authorธนภณ ชัยวรกุล, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-02T07:43:26Z-
dc.date.available2025-01-02T07:43:26Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12964en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2565th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษารูปแบบของการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่ได้รับการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงพยาบาล (2) เปรียบเทียบความรู้ การมีส่วนร่วมในการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง และอัตราการรายงานความเสี่ยงของบุคลากร ก่อนและหลังการพัฒนารูปแบบของการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงแบบมีส่วนร่วม และ (3) ประเมินความพึงพอใจของบุคลากรต่อการใช้ระบบรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงรูปแบบการศึกษาเป็นการวิจัยและพัฒนา ประชากรที่ศึกษาได้แก่บุคลากรของโรงพยาบาลค่ายสรรพสิทธิประสงค์ที่อยู่ในส่วนของการรักษาพยาบาลจำนวน 84 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 32 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือวิจัย ได้แก่ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนารูปแบบการรายงานความเสี่ยงของโรงพยาบาลที่มีดัชนีความสอดคล้อง 0.91 และแบบสอบถามเพื่อประเมินระดับความรู้ การมีส่วนร่วมและความพึงพอใจ ที่มีคำความเที่ยง 0.61, 0.95 และ 0.98 ตามลำดับ เก็บข้อมูลก่อนและหลังการพัฒนารูปแบบการรายงานความเสี่ยงฯ 2 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบทีแบบคู่ ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบการรายงานความเสี่ยงที่พัฒนาขึ้นจากการอบรมเชิงปฏิบัติการ คือการรายงานความเสี่ยงผ่านการใช้แอปพลิเคชัน Line official account ซึ่งมีช่องทางการเข้าถึงโปรแกรมการรายงานความเสี่ยงที่ง่าย มีการสะท้อนกลับและติดตามผลการรายงานความเสี่ยงได้ มีการสร้างแรงจูงใจให้กับบุคลากรที่รายงานความเสี่ยง และสามารถแจ้งเตือนผลการแก้ไขในเหตุการณ์ความเสี่ยงที่สำคัญแก่ทุกหน่วยงานได้ (2) คะแนนเฉลี่ยความรู้และการมีส่วนร่วมในการรายงานความเสี่ยงหลังการพัฒนารูปแบบการรายงานความเสี่ยงสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีอัตราการรายงานความเสี่ยงของบุคคลต่อเดือน และภาพรวมของโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ (3) ระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อการใช้ระบบรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลค่ายสรรพสิทธิประสงค์--การบริหารความเสี่ยงth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--การบริหารความเสี่ยงth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--การบริหาร--ไทย--อุบลราชธานีth_TH
dc.titleผลของการพัฒนารูปแบบการรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงแบบมีส่วนร่วมของบุคลากรโรงพยาบาลค่ายสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeEffect of participatory development of incident risk report model of healthcare staff in Fort Sunpasitthiprasong Hospital, Ubon Ratchathani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to explore the effect of participatory development of an incident risk report model of healthcare staff, (2) to compare the knowledge, participation in incident risk reporting, and incident risk reporting rate of healthcare staff before and after the participatory development of incident risk report, and (3) to evaluate the satisfaction of healthcare staff with incident risk reporting system at Fort Sunpasitthiprasong Hospital.The research and development study involved 32 registered nurses purposively selected from all 84 healthcare staff in the hospital’s medical treatment division, based on the entry selection criteria. The instruments were a workshop for developing a hospital incident risk report model which had a content validity value of 0.91, and a questionnaire designed to assess the levels of knowledge, participation, and satisfaction which had reliability values of 0.61, 0.95, and 0.98 respectively. Data were collected before and 2 months after the development of incident risk report model and then analyzed using descriptive statistics and paired t-test. The study showed that, among all participants: (1) the results of workshop led to the development of the incident risk report model through Line official account application, which could provide easy access to incident risk reporting program with effortless to get feedback and to follow up on the results of incident risk reporting; it could also provide motivation for healthcare staff who reported the incident risks, and could notify all departments of the resolution of the important incident risk events; (2) the mean scores on knowledge and participation in incident risk reporting after the development of incident risk report model were significantly higher than before; and the rate of individual incident risk reporting per month also significantly increased, corresponding to the increase in the overall hospital’s data; and (3) the level of satisfaction of healthcare staff with the developed incident risk reporting system was at the highest level.en_US
dc.contributor.coadvisorเอกพล กาละดีth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons