Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12965
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรางคณา จันทร์คง | th_TH |
dc.contributor.author | ศศิธร สมพัตร์, 2536- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-02T08:22:12Z | - |
dc.date.available | 2025-01-02T08:22:12Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12965 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อประเมินความรู้ เจตคติ พฤติกรรม และปริมาณขยะมูลฝอยของบ้านแม่แฮเหนือ และ (2) เปรียบเทียบความรู้ เจตคติ พฤติกรรม และปริมาณขยะมูลฝอยของบ้านแม่แฮเหนือ ตำบลแม่นาจร อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการขยะมูลฝอยตามหลักการ 3Rs กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้นำชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านแม่แฮเหนือ ตำบลแม่นาจร อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม โมเดลแยกประเภทขยะ ถังพลาสติกขนาด 30 ลิตร และแบบบันทึกปริมาณขยะมูลฝอย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์แบบจับคู่ ผลการศึกษา พบว่า (1) ความรู้ เจตคติเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยตามหลักการ 3Rs ก่อนและหลังอยู่ในระดับมากและมากที่สุด ตามลำดับ พฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย ตามหลักการ 3Rs ก่อนและหลังอยู่ในระดับปานกลางและมาก ตามลำดับ ปริมาณขยะมูลฝอย ก่อนและหลังเท่ากับ 452.76 กิโลกรัม และ 345.52 กิโลกรัม ตามลำดับ และ (2) เมื่อสิ้นสุดการใช้โปรแกรมการจัดการขยะมูลฝอยตามหลักการ 3Rs พบว่า หลังเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ ปริมาณขยะมูลฝอยเฉลี่ยลดลงจาก 1.70 กิโลกรัมต่อวัน ก่อนเข้าร่วมโครงการ เป็น 1.05 กิโลกรัมต่อ วันหลังเข้าร่วมโครงการ โดยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ขยะและการกำจัดขยะ--การนำกลับมาใช้ใหม่ | th_TH |
dc.subject | ขยะและการกำจัดขยะ--โปรแกรมกิจกรรม--ไทย--เชียงใหม่ | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมการจัดการขยะมูลฝอยตามหลักการ 3Rs ของบ้านแม่แฮเหนือ ตำบลแม่นาจร อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of solid waste management with 3Rs (Reduce, Reuse and Recycle) principle of Ban Mae Hae Nuea, Mae Na Chon Sub-district, Mae Chaem District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were )1( to evaluate the levels of knowledge, attitudes, behaviors and solid waste amounts; and )2(compare the levels of knowledge, attitudes, behaviors and solid waste amounts before and after implementing the 3Rs Solid Waste Management Program in Ban Mae Hae Nuea village in Mae Na Chon subdistrict, Mae Chaem district, Chiang Mai province.The study involved all 20 community leaders and village health volunteers )VHVs( in Mae Hae Nuea village of Chiang Mai. The instruments for data collection were a questionnaire, a waste separation model, 30-liter plastic cans and solid waste amount recording forms. Data were collected and then analyzed with mean and standard deviation, and paired-t-test. The results showed that: )1( before and after implementing the 3Rs Solid Waste Management Program in the village, the participants had the knowledge and attitudes at the high and highest levels, respectively, and had the behaviors at moderate and high levels, respectively; the solid waste amounts were 452.76 kilograms and 345.52 kilograms, respectively; and )2( after implementing the 3Rs Solid Waste Management program, the participants had significantly higher mean scores than before for knowledge, attitudes and behavior; and the mean solid waste amounts significantly from 1.70 kilograms per day to 1.05 kilograms per day. Keywords: | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สิริรัตน์ สุวณิชย์เจริญ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.77 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License