Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12966
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีระวุธ ธรรมกุล | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฐริกา ศรีสงวน, 2540- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-03T01:39:46Z | - |
dc.date.available | 2025-01-03T01:39:46Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12966 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม ในการดูแลสุขภาพช่องปาก (2) ผลกระทบทางทันตสุขภาพ และ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลกระทบทางทันตสุขภาพในนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายในช่วงวิกฤติโควิด-19 ในอำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางนี้ศึกษาในประชากรนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ในอำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ จำนวน 1,061 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 282 คน เลือกตัวอย่างโดยใช้ วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เก็บข้อมูลในเดือนกรกฎาคม 2565 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) ด้านปัจจัยนำ ระดับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากอยู่ใน ระดับปานกลางร้อยละ 56.4 และระดับทัศนคติเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากอยู่ในระดับสูงร้อยละ 81.2 ด้านปัจจัยเอื้อโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 84.0 และด้านปัจจัยเสริมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 68.8 (2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีผลกระทบทางทันตสุขภาพอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 55.7 และ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลกระทบทางทันตสุขภาพ คือ เพศ ทัศนคติ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก การมีอุปกรณ์ในการทำความสะอาดช่องปาก การเข้าถึงแหล่งบริการทางทันตกรรม การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากโดยสามารถร่วมกันทำนายผลกระทบทางทันตสุขภาพได้ร้อยละ 32.0 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | นักเรียนประถมศึกษา--การดูแลทันตสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | การระบาดใหญ่ของโควิด-19, ค.ศ. 2020- | th_TH |
dc.title | ปัจจัยและผลกระทบทางทันตสุขภาพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายในช่วงวิกฤติโควิด-19 ในอำเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors and effects on dental health of upper primary school students during the COVID-19 crisis in PhuKhiao District, Chaiyaphum Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to study (1) predisposing factors, reinforcing factors and enabling factors in oral health care, (2) effects on dental health, and (3) factors affecting dental health conditions of upper primary students during the COVID-19 crisis in Phu Khiao district, Chaiyaphum province.This cross-sectional descriptive study was conducted in a sample of 282 students selected using the cluster sampling method from all 1,061 Prathom 4–6 students (4th–6th graders) in Phu Khiao district. Data were collected in July 2022, and then analyzed to determine frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple linear regression.The results showed that, among the study participants: (1) in terms of predisposing factors, students had a moderate level of knowledge about oral health care at 56.4%, and a high level of attitudes towards oral health care at 81.2%; and 84.0% and 68.8% of them had a moderate level of enabling factors and reinforcing factors, respectively; (2) the overall effect on their dental health level was moderate at 55.7%; and (3) the factors affecting their dental health status were gender, attitudes towards oral health care, dental hygiene accessories, accessibility to dental service, social support and awareness of dental care information; all of which could 32.0% predict effects on dental health conditions. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อารยา ประเสริฐชัย | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License