Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทองth_TH
dc.contributor.authorอิทธิพล ยอดโค้น, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-03T02:32:18Z-
dc.date.available2025-01-03T02:32:18Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12968en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานส่วนบุคคล เศรษฐกิจ และสังคมของเกษตรกร 2) สภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และการจัดการศัดรูข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยวิธีผสมผสาน 3) ปัจจัยที่บีความสัมพันธ์กับการยอมรับการจัดการศัตรู ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยวิธีผสมผสาน 4) ปัญหาในการจัดการศัดรูข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยวิธีผสมผสาน 5) ความต้องการและแนวทางส่งเสริมการจัดการศัตรูข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยวิธีผสมผสานประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในจังหวัดพิษณุโลกที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรปี 2564 จำนวน 18,091 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามของ ทาโร ยามาเน ที่ความคลาดเคลื่อน 0.67 ได้กลุ่มตัวอย่าง 202 ราย ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่ความถี่ ร้อยละค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การจัดอันดับ และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 52.29 ปี จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.84 คน แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.35 คน พื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 15.55 ไร่ รายได้ภาคเกษตรเฉลี่ย 77,643.56 บาท ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร 2) เกษตรกรมีพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 10.34 ไร่ ประสบการณ์การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 20.73 ปี ต้นทุนการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 4,580.39 บาทต่อไร่ ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 967.57 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้จากการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 37,778.49 บาท เกษตรกรยอมรับการจัดการศัดรูข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยวิธีผสมผสานภาพรวมอยู่ในระดับน้อย วิธีการจัดการศัตรูข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ยอมรับในระดับมาก คือ วิธีเขตกรรม การใช้สารเคมี ระดับน้อย คือ ชีววิธี วิธีกล ระดับน้อยที่สุด คือ การใช้สารสกัดธรรมชาติ วิธีฟิสิกส์ 3) อายุของเกษตรกร มีความสัมพันธ์กับการยอมรับการจัดการศัตรูข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยวิธีผสมผสานอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 4) เกษตรกรมีปัญหาการจัดการศัตรู ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยวิธีผสมผสานโดยวิธีฟิสิกส์ในระดับมากที่สุด 5) เกษตรกรมีความต้องการความรู้วิธีการใช้สารเคมีมากที่สุด ต้องการสื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือวีดีทัศน์ อยู่ในระดับมากและต้องการวิธีการส่งเสริม คือการสาธิต อยู่ในระดับมาก แนวทางการส่งเสริมการจัดการศัตรูข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยวิธีผสมผสาน ได้แก่ (1) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญเรื่องการจัดการศัตรูข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยวิธีผสมผสานเพื่อถ่ายทอดให้เกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) ส่งเสริมองค์ความรู้การผสมปุ๋ยใช้เอง การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (3) ส่งเสริมการใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง และปลอดภัยเพื่อลดการใช้สารเคมี (4) จัดทำแปลงเรียนรู้ สาธิต ฝึกปฏิบัติ และผลิตสื่อเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยใช้การจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน เช่น วีดีทัศน์ โปสเตอร์ และแผ่นพับ (5) ส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกรในพื้นที่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวโพด--โรคและศัตรูพืช--การควบคุมแบบผสมผสานth_TH
dc.titleการส่งเสริมการจัดการศัตรูข้าวโพดเลี้ยงสัตว์โดยวิธีผสมผสานของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeExtension of maize integrated pest management of farmers in Phitsanuloken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the 1) basic personal, economic, and social conditions of farmers; 2) maize production conditions and mixed pest control for maize; 3) factors related to the acceptance of maize-integrated pest management; 4) problems in maize integrated pest management; and 5) needs and extension in maize integrated pest management. The population was 18,001 registered maize production farmers in Phitsanulok province who had registered as farmers in 2021. The sample size of 202 respondents was determined by using the Taro Yamane formula with a marginal error of 0.07. A simple random sampling method was used, and data were collected using interviews. Data analysis was done using frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, ranking, and correlation analysis. The results of the research revealed that 1) Most of the farmers were female, and the average age of the respondents was 52.29 years old. They completed primary 6 education level. The average number of household members was 4.84 people, and the average number of household members laboring as farmers were 2.36 people. The average agricultural area owned was 15.55 rai. The average agricultural income 77,643.56 baht. Most of them are members of groups or organizations related to agriculture; 2) Farmers had an average maize plantation area of 10.54 rai. They had an average maize production experience of 20.73 years. The average maize production cost was 4,580.89 baht per rai, and farmers had an average maize productivity of 967.57 kilograms per rai. Their average income from maize production was 87,778.49 baht. Farmers had a low-level adoption of integrated pest management. The most adopted maize pest management methods were cultural control mechanical control, the least adopted maize pest management methods were the use of natural extract methods physical methods; 3) At a 0.05 level of significance, data showed that a farmer’s age was correlated to the level of his adoption of maize-integrated pest management; 4) Farmers had a problem in the adoption of integrated maize pest management through physical method at the highest level; 5) Farmers wanted knowledge about chemical usage at the highest level. At a high level, they wanted the transfer of knowledge through electronic media, specifically videos. Also at a high level, they wanted the extension method to be done through demonstration; and Extension guidelines of maize integrated pest management were as follows: (1) the extension of knowledge transfer from the agricultural extension officers who can effectively share their expertise in maize pest management; (2) the extension of knowledge regarding the use of self-made fertilizers and the application of fertilizers according to soil analysis; (3) the extension of knowledge about the correct application of chemicals for safety and reduction of its use; (4) Create learning plots, demonstrate, practice, and media creation for public promotion (videos, posters, pamphlets) of maize production using integrated pest management; and (5) the group formation extension of farmers in the area.en_US
dc.contributor.coadvisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons