Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12981
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสาth_TH
dc.contributor.authorจันทรนิวัติ วิสิทธิ์ศิลป์, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-03T07:39:50Z-
dc.date.available2025-01-03T07:39:50Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12981en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การเรียนรู้สู่การออมเงินของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านหนองแล้ง จังหวัดสุรินทร์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวปรากฏการณ์วิทยา ผู้ให้ข้อมูลหลักแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านหนองแล้ง จังหวัดสุรินทร์ ที่มีประสบการณ์ในการออมเงิน จำนวน 10 คน และกลุ่มที่ 2 พ่อแม่/ผู้ปกครอง จำนวน 10 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์การคัดเลือก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และสร้างข้อสรุปแบบอุปนัยเพื่อตอบวัตถุประสงค์การวิจัย ผลการวิจัยปรากฏว่า ประสบการณ์การเรียนรู้สู่การออมเงินของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านหนองแล้ง จังหวัดสุรินทร์ ประกอบด้วย 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ ประเด็นหลักที่ 1 จุดเริ่มต้นของการออมเงิน ประกอบด้วย 2 ประเด็นรอง คือ 1) การเรียนรู้เกี่ยวกับการออมเงิน และ 2) การเริ่มต้นออมเงิน ประเด็นหลักที่ 2 วิธีปฏิบัติในการออมเงิน ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง คือ 1) วิธีการออมเงิน 2) รูปแบบการออมเงิน 3) เป้าหมายในการออมเงิน และ 4) การใช้จ่ายเงิน ประเด็น หลักที่ 3 บทเรียนที่ได้รับจากการออมเงิน ประกอบด้วย 3 ประเด็นรอง คือ 1) การรับรู้ประโยชน์ของการออมเงิน 2) ความรู้สึกภูมิใจต่อการออมเงิน และ 3) การแนะนำและบอกต่อth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการออมกับการลงทุนth_TH
dc.titleประสบการณ์การเรียนรู้สู่การออมเงินของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านหนองแล้ง จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeLearning experiences for money saving of grade 4-6 students at Ban Nong Lang School in Surin Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study learning experiences for money saving of Grade 4-6 students at Ban Nong Lang School in Surin Province.This research was a qualitative research based on phenomenology approach. The key research informants were divided into two groups: The first group consisted of 10 Grade 4-6 students at Ban Nong Lang School who had experiences of money saving. The second group consisted of 10 parents purposively selected based on selection criterion. The employed data collecting tool was an in-depth interview form. Research data were analyzed with content analysis to create inductive conclusions in order to answer the research objective.The research findings revealed that the learning experiences for money saving of Grade 4-6 students at Ban Nong Lang School in Surin Province comprised three main issues: The first main issue was the start of money saving. It consisted of two sub-issues: (1) learning about money saving, and (2) the start of money saving. The second main issue was the practice method of money saving. It consisted of four sub-issues: (1) the money saving method, (2) the money saving model, (3) the target of money saving, and (4) the money expenditure. The third main issue was the lesson obtained from money saving. It consisted of three sub-issues: (1) the perception of benefits of money saving, (2) the pride of having saved money, and (3) the provision of advices and mouth-to-mouth telling.en_US
dc.contributor.coadvisorจิระสุข สุขสวัสดิ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons