Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12986
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีระวุธ ธรรมกุล | th_TH |
dc.contributor.author | ดารา พิสิฐพัฒนพงศ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-06T02:12:44Z | - |
dc.date.available | 2025-01-06T02:12:44Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12986 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สูตรไขว้และการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในจังหวัดพะเยา รูปแบบการวิจัยเป็นการศึกษาย้อนหลัง โดยมีกลุ่มควบคุมแบบจับคู่มีกลุ่มป่วยและไม่ป่วย กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนในจังหวัดพะเยาที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 385 คน แบ่งเป็นกลุ่มป่วย จำนวน 77 คน และกลุ่มไม่ป่วย จำนวน 308 คน ตามอัตราส่วน 1:4 เลือกตัวอย่างโดยใช้การสุ่มแบบชั้นภูมิ ทำการเก็บข้อมูลในเดือนกันยายน 2565 วิเคราะห์ข้อมูลความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราห์แบบพหุคูณ โลจิสติกแบบมีเงื่อนไข ผลการศึกษาพบว่า การรับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สูตรไขว้ แบบการฉีดชนิดที่ใช้ไวรัสเป็นพาหะ (Viral vector) เป็นเข็มที่ 1 และชนิดสารพันธุกรรม (mRNA Vaccine) เป็นเข็มที่ 2 นั้นมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 โดยการฉีดวัคซีนแบบดังกล่าวสามารถป้องกันการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ร้อยละ 70.0 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วัคซีนโควิด-19 | th_TH |
dc.subject | วัคซีน--เทคโนโลยีชีวภาพ | th_TH |
dc.subject | โควิด-19--โรค--การรักษา | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการรับวัคซีนสูตรไขว้และการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในจังหวัดพะเยา : การศึกษาย้อนหลังโดยมีกลุ่มควบคุมแบบจับคู่ | th_TH |
dc.title.alternative | Association between heterologous prime-boost vaccination and Coronavirus Disease 2019 among people in Phayao Province, Thailand: a matched case-control study | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to explore the association between of heterologous prime-boost Covid-19 vaccination and Covid-19 incidence among the people in Phayao province, Thailand.This matched case-control study was conducted in a sample of 385 adults aged 18 years and over in Phayao province selected using the stratified two-stage random sampling method with the case/control ratio of 1:4 (77 cases and 308 controls). Data were collected in September 2022 and then analyzed for frequency, percentage, mean, standard deviation, and conditional logistic regression.The results showed that getting a heterologous prime-boost Covid-19 vaccination, the first dose of the viral vector vaccine and the second dose of the mRNA vaccine, was significantly associated with the incidence of COVID-19 (P-value < 0.05). Those who had received such a vaccination regimen were able to prevent the incidence of COVID-19 by 70.0%. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เอกพล กาละดี | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License