Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12987
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารยา ประเสริฐชัย | th_TH |
dc.contributor.author | พฤทธ์ พิพิธภักดี, 2538- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-06T02:34:10Z | - |
dc.date.available | 2025-01-06T02:34:10Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12987 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงวิเคราะห์ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้ทัศนคติ และการปฏิบัติตามกลยุทธ์การควบคุมโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ (2) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติตามกลยุทธ์การควบคุมโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ และ (3) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติตามกลยุทธ์การควบคุมโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจของผู้นำชุมชนตำบลปางตาไว จังหวัดdeแพงเพชร ประชากรคือผู้นำชุมชน จำนวน 206 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างเป็นระบบและคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยโปรแกรม G*power ได้จำนวน 113 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงของแบบทดสอบความรู้ฯ แบบสอบถามทัศนคติฯ และการปฏิบัติตามกลยุทธ์การควบคุมโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจเท่ากับ 0.72 0.83 และ 0.85 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติการวิเคราะห์ถดถอยอย่างง่ายและแบบพหุคูณ โดยกำหนดระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้นำชุมชนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 51 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา สถานภาพสมรส มีระยะเวลาดำรงตำแหน่งเฉลี่ย 12 ปี มีความรู้ และทัศนคติ เกี่ยวกับกลยุทธ์การควบคุมโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจอยู่ในระดับปานกลาง และมีการปฏิบัติตามกลยุทธ์การควบคุมโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจอยู่ในระดับดี (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติตามกลยุทธ์การควบคุมโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งผู้นำชุมชน ความรู้ และทัศนคติ และ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติตามกลยุทธ์การควบคุมโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ คือ การดำรงตำแหน่งของผู้นำชุมชน ตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป และความรู้เกี่ยวกับกลยุทธ์การการควบคุมโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจโดยสามารถร่วมทำนายการการปฏิบัติตามกลยุทธ์ได้ร้อยละ 18.4 (R2 - 0.184) ดังนั้นการให้ความรู้การมีทัศนคติที่ดี และเสริมสร้างเครือข่ายการทำงานให้แก่ผู้นำชุมชน จะช่วยให้การปฏิบัติตามกลยุทธ์การควบคุมโรคติดต่อดีขึ้น. | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรคติดต่อ--การป้องกัน | th_TH |
dc.subject | ทางเดินหายใจ--โรค--ไทย--กำแพงเพชร | th_TH |
dc.title | อิทธิพลที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามกลยุทธ์การควบคุมโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจของผู้นำชุมชน ตำบลปางตาไว จังหวัดกำแพงเพชร | th_TH |
dc.title.alternative | Influence on the implementation of respiratory disease control strategies among community leader in Pang Ta Wai Subdistrict, Kamphaeng Phet Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This cross-sectional descriptive research aimed to (1) explore personal factors, knowledge and attitudes in implementing respiratory disease control strategies, (2) investigate factors related to the implementation of respiratory disease control strategies, and (3) analyze factors influencing the implementation of respiratory disease control strategies among community leaders in Pang Ta Wai subdistrict, Kamphaeng Phet province. The study involved a sample 113 community leaders selected using the systematic sampling from all 206 leaders in the subdistrict, based on the G*Power sample size calculation. Data were collected using a questionnaire and then analyzed to determine frequencies, percentages, means, and standard deviations; and regression analyses were performed using the significance level of 0.05.The results showed that: (1) Among the respondents, most of them were married women with a mean age of 51 years, completed primary schooling, and had 12 years of work experience on average as community leaders. In implementing the respiratory disease control strategies, they had moderate levels of knowledge and attitudes and a good level of performance. (2) The factors significantly related to the implementation of respiratory disease control strategies were years of work as community leaders, knowledge and attitudes and (3) The factors significantly affecting the implementation of respiratory disease control strategies were the 10 or more years of work as community leaders and knowledge about the disease control; both could predict 18.40% (R2 = 0.184) of the variations. Thus, the capacity of community leaders should be enhanced so as to improve their knowledge, attitudes, and networking ability for the effective implementation of respiratory disease control strategies. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เอกพล กาละดี | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License