Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13000
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนพวรรณ เปียซื่อth_TH
dc.contributor.authorจักรินทร์ เคนรัง, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-08T02:42:15Z-
dc.date.available2025-01-08T02:42:15Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13000en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างทักษะการกำกับตนเองโดยการเยี่ยมบ้านทางไกลต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองในการควบคุมโรคเบาหวาน พฤติกรรมการควบคุมโรคเบาหวาน และระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมโรคไม่ได้ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมโรคไม่ได้ มีระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ระหว่าง 126-180 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร อาศัยในอำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างถูกสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 32 คน โดยจับคู่ อายุ ระยะเวลาที่เป็นโรคเบาหวาน ระดับน้ำตาลในเลือด และน้ำหนัก เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมเสริมสร้างทักษะการกำกับตนเองโดยการเยี่ยมบ้านทางไกลสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมโรคไม่ได้ โดย ประยุกต์ทฤษฎีการควบคุมตนเองของแบนดูราใช้ในการพัฒนาทักษะการสังเกตตนเอง การตัดสินใจ และ การแสดงปฏิกิริยาต่อตนเอง กิจกรรมประกอบด้วยการอบรมเชิงปฏิบัติการและการเยี่ยมบ้านทางไกลผ่านวิดีโอคอล มีระยะเวลา 10 สัปดาห์ 2) คู่มือการเสริมสร้างทักษะการกำกับตนเองในการควบคุมโรคเบาหวาน 3) แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเองในการควบคุมโรคเบาหวาน และพฤติกรรมการควบคุมโรคเบาหวาน มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ .99 ทั้งสองส่วน และมีค่าความเที่ยงของสัมประสิทธิ์ อัลฟาครอนบราค เท่ากับ .90 และ .91 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า หลังการเข้าร่วมโปรแกรม กลุ่มทดลองมีการรับรู้ความสามารถของตนเองในการควบคุมโรคเบาหวานและพฤติกรรมการควบคุมโรคเบาหวานโดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านการรับประทานอาหาร ด้านการออกกำลังกาย และด้านการรับประทานยา ดีกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนระดับน้ำตาลในเลือดมีค่าเฉลี่ยน้อยกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมและน้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเยี่ยมบ้านth_TH
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวาน--บริการทางการแพทย์--ไทย--ชัยภูมิth_TH
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างทักษะการกำกับตนเองโดยการเยี่ยมบ้านทางไกล สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมโรคไม่ได้ ในอำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of a self-regulation skill enhancement program by tele-home-visiting for uncontrolled type 2 diabetes patients in Kaeng Khro District, Chaiyaphum Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe quasi-experimental research was a two-group pretest-posttest design. The purposes of the research were to study the effects of a self-regulation skill enhancement program by tele-home-visiting on the perception of self-efficacy in diabetes control, diabetes control behavior, and blood glucose level among uncontrolled type 2 diabetes patients. The samples were uncontrolled type 2 diabetes patients with blood glucose at 126-180 mg/dl living in Kaeng Khro District, Chaiyaphum Province. The sample was selected by random sampling and put into an experimental group and a comparison group of 32 people each. The samples in the two groups were matched by age, duration of diabetes, blood sugar levels, and weight. Research instruments were 1) the self-regulation skill enhancement program by tele-home-visiting for uncontrolled type 2 diabetes patients applying the theory of Bandura's self-regulation theory for developing self-observation, judgment, and self-reaction skills. The 10-week activities comprised workshops and tele-home-visiting via video calls; 2) a handbook on enhancing self-regulatory skills for diabetes control; and 3) questionnaires on diabetes control self-efficacy and behavior. The content validity indexes of both questionnaires were .99, and Cronbach’s alpha coefficients were .90 and .91, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics and a t-test.The result revealed as follows: after enrolling in the program, the diabetes control self-efficacy and behavior overall, and in all domains of food consumption, exercise, and medication adherence, of the samples in the experimental group were better than before enrolling in the program, and better than the comparative group at a statistically significant level at p-value < .01. The blood sugar of the experimental group was lower than before enrolling in the program, and lower than the comparative group at p-value < .01en_US
dc.contributor.coadvisorสุทธีพร มูลศาสตร์th_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม29.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons