Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13009
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์th_TH
dc.contributor.authorสุดา ใจดี, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-10T02:26:07Z-
dc.date.available2025-01-10T02:26:07Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13009en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.(นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) รูปแบบและเนื้อหาการใช้สื่อในการพัฒนาคุณธรรมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก 2) ผลการใช้สื่อในการพัฒนาคุณธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศกการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเลือกแบบเจาะจง ผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 23 คน ประกอบด้วย 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศกจำนวน 18 คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 คน 2) สมณะ จำนวน 1 รูป 3) คุรุ จำนวน 1 คน 4) ชาวชุมชน จำนวน 2 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้างและวิเคราะห์ข้อมูลโดยการสร้างข้อสรุป ผลการวิจัย พบว่า 1) โรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศก มีรูปแบบการใช้สื่อพัฒนาคุณธรรมนักเรียนโดยการใช้สื่อบุคคล สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อเฉพาะกิจ และสื่อของจริงที่มีอยู่ตามธรรมชาติ โดยใช้เนื้อหาโลกุตระ คือ การลดละกิเลศในระดับบุคคลและสังคมมาบูรณาการเข้ากับสื่อ 2) ผลของการใช้สื่อเพื่อพัฒนาคุณธรรม พบว่า นักเรียนมีคุณธรรมตามเกณฑ์การประเมิน คือเป็นคนดี ปฏิบัติดี และมีศีลธรรม เป็นที่พึงพอใจทั้งต่อตนเองและสมาชิกชุมชน.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงเรียนสัมมาสิขาราชธานีอโศกth_TH
dc.subjectสื่อการสอน--แง่ศาสนา--พุทธศาสนาth_TH
dc.subjectจริยธรรมนักเรียนth_TH
dc.subjectพุทธศาสนา--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleการใช้สื่อเพื่อพัฒนาคุณธรรมนักเรียนโรงเรียนสัมมาสิกขาราชธานีอโศกth_TH
dc.title.alternativeCommunication for developing moral among students of Sammasikkha Ratchathani Asoke Schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) patterns usage and content of media to develop morality among Mattayom 3 (equivalent to U.S. grade 9) lower secondary school students at Sammasikkha Ratchathani Asoke School; and 2) results of that media use.This was a qualitative research based on interviews with twenty-three key informants, chosen through purposive sampling, consisting of 1) eighteen Mattayom 3rd students and a Mattayom 1st student at Sammasikkha Ratchathani Asoke School; 2) a monk seeker (śramaṇa); 3) a guru; and 4) two members of the community. The research tool was a semi-structured in-depth interview form. Data were analyzed deductively.The results showed that 1) Sammasikkha Ratchathani Asoke School used personal media, electronic media, specialized media, and objects/phenomena in nature as media to teach morality. The content was Lokutara or how to reduce and extinguish deceit, craving and sin on a personal level and society level. The Buddhist teachings were integrated with the media to develop moral among the students. 2) the result of the communication and media use was that the students had good morals based on the evaluation standard; that is, they were good people, well behaved and ethical to a satisfying degree by their own assessment and the assessment of members of the community.en_US
dc.contributor.coadvisorสันทัด ทองรินทร์th_TH
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons