Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13014
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นารีรัตน์ สีระสาร | th_TH |
dc.contributor.author | วิมลลักษณ์ พุ่มพิกุล, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-10T04:51:33Z | - |
dc.date.available | 2025-01-10T04:51:33Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13014 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานทางด้านสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชน (2) สภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของศูนย์ข้าวชุมชน (3) ความต้องการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชน (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของศูนย์ข้าวชุมชน และ (5) แนวทางการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของศูนย์ข้าวชุมชน ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรที่เป็นสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชน ที่มีการขึ้นทะเบียนกับกรมการข้าว ปี 2563 จำนวน 150 ราย เก็บจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับ ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 56.92 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ประสบการณ์ในการปลูกข้าว เฉลี่ย 30.46 ปี ประสบการณ์ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว เฉลี่ย 7.69 ปี จำนวนพื้นที่ที่ทำการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว เฉลี่ย 25.91 ไร่ รายได้จากการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวต่อปี เฉลี่ย 172,016.67 บาท รายจ่ายจากการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวต่อปี เฉลี่ย 82,878.66 บาท จำนวนแรงงานในครัวเรือน เฉลี่ย 2.01 คน (2) สภาพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชน โดยส่วนใหญ่ปลูกข้าวพันธุ์กข41 อัตราเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ เฉลี่ย 21.59 กิโลกรัมต่อไร่ และเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เอง มีการเตรียมพื้นที่ไม่เผาตอซังในแปลงนาและไถดะ 1 ครั้ง โดยปลูกข้าวแบบนาหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยเคมี มีการสำรวจโรคและแมลงศัตรูข้าวในแปลงนาอย่างสม่ำเสมอ ทำการตัดพันธุ์ปนในแปลงนา การเก็บเกี่ยวและการจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวโดยระบายน้ำก่อนเก็บเกี่ยวอย่างน้อย 7 - 10 วัน (3) เกษตรกรต้องการได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐด้านเมล็ดพันธุ์ (4) เกษตรกรมีปัญหาด้านการดูแลรักษาเมล็ดพันธุ์และมีข้อเสนอแนะ คือ เจ้าหน้าที่ควรมีการบูรณาการด้านเรียนรู้ในชุมชนและการให้ความรู้เรื่องการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวให้มากขึ้นอีกทั้งจัดทำแปลงเรียนรู้เพื่อให้เกษตรกรได้เข้าไปศึกษาดูงาน (5) แนวทางการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว คุณภาพดีและส่งเสริมการกำจัดศัตรูข้าวด้วยสารชีวภัณฑ์เพื่อลดต้นทุนการผลิต | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.title | แนวทางการส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนในจังหวัดชัยนาท | th_TH |
dc.title.alternative | Extension guidelines of rice seed production of members of community rice center Chainat Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study farmers in the following issues: ( 1) socio-economic condition of members of community rice center, (2) rice seed production condition of community rice center, ( 3) extension needs of rice seed production of members of community rice center, ( 4) problems and recommendations for rice seed production of the community rice center, and (5) extension guidelines of rice seed production of the community rice center. The population consisted of 150 of members of community rice and collected from all the population who registered with the Rice Department in the production year of 2020. Structured interviews were used for data collection. Statistics used were frequency, percentage, mean, minimum, maximum, standard deviation and ranking. The results indicated the following: 1) Most of the farmers were male, the average age of 56.92 years and finished primary school. The average experience of rice production was 30.46 years. The average experience of rice seed product were 7.76 years. The average rice seed production planting area was 25.91 rai. The average income from rice seed production per year were 172,016.67 baht. The average expenses from rice seed production per year were 82,878.66 baht. The average numbers of labor of rice seed production were 2.01 persons and 2) Most of the rice seed production of member of the community rice center conditions. Most of them grow rice varieties RD41., average seed rate used was 21.59 kg/rai. Most of them keep their seeds for their own use. Most of the land preparation did not burn stubble in the fields and plowed once, by planting rice in a paddy field, use chemical fertilizer, regularly surveying diseases and pests in the rice fields, crossbreeding in the field, harvesting and managing rice seeds by draining water before harvesting at least 7 - 10 days. And harvest the rice seeds at the proper maturity stage. Approximately 30 days after the rice is 80% flowering 3)Farmers need government support for seeds. 4) Farmers were problems with seed preservation and suggestion was that officials should integrate a learning resource in the community and provide more knowledge on rice seed production. In addition, a learning plot was created for farmers to study and visit. 5) Extension guidelines of rice seed production of extension good quality rice seeds and extension of the eradication for rice pests with bio-based substances to reduce production costs. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License