กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13015
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ วิภาวินth_TH
dc.contributor.authorช้องนาง เล็กสมบูรณ์, 2536-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-10T06:14:30Z-
dc.date.available2025-01-10T06:14:30Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13015en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้สารสนเทศเพื่อการพัฒนาอาชีพในท้องถิ่นของบุคลากรองค์การภาครัฐในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศเพื่อการพัฒนาอาชีพในท้องถิ่นของบุคลากรองค์การภาครัฐในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษาประสบการณ์การทำงาน และสังกัด 3) ศึกษาปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการพัฒนาอาชีพในท้องถิ่นของบุคลากรองค์การภาครัฐในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 และ 4) เปรียบเทียบปัญหาการใช้สารสนเทศเพื่อการพัฒนาอาชีพในท้องถิ่นของบุคลากรองค์การภาครัฐในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 จำแนกตามเพศระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และสังกัด วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ข้าราชการหน่วยงานภาครัฐที่ปฏิบัติงานด้านการพัฒนาอาชีพ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และกระทรวงแรงงาน ในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 (เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง และลำพูน) จำนวน 320 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการเปรียบเทียบรายคู่ ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรองค์การภาครัฐส่วนใหญ่มีการใช้สารสนเทศเพื่อการพัฒนาอาชีพในท้องถิ่นโดยรวมในระดับมาก โดยมีวัตถุประสงค์การใช้สารสนเทศเพื่อพัฒนาตนเองในการปฏิบัติงาน รองลงมามีรูปแบบสารสนเทศโดยใช้สื่อบุคคลด้านการฝึกอบรม ประชุม สัมมนา และมีการใช้แหล่งสารสนเทศบุคคลมากที่สุด ได้แก่ ปราชญ์ชาวบ้านและผู้นำชุมชน 2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศพบว่าบุคลากรองค์การภาครัฐที่มีเพศและสังกัดกระทรวงที่แตกต่างกันมีการใช้สารสนเทศต่างกัน ซึ่งพบว่าเพศชายมีการใช้สารสนเทศมากกว่าเพศหญิง และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีการใช้สารสนเทศน้อยกว่ากระทรวงศึกษาธิการ ส่วนบุคลากรที่มีวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีการใช้สารสนเทศที่ไม่ต่างกัน 3) ปัญหาการใช้สารสนเทศฯของบุคลากรองค์การภาครัฐ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ แหล่งสารสนเทศภายนอกมีจำนวนไม่มากและมีข้อจำกัดในการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องเป็นสมาชิก 4) เปรียบเทียบปัญหาการใช้สารสนเทศฯ พบว่าบุคลากรที่มีเพศและสังกัดกระทรวงที่แตกต่างกันจะมีปัญหาการใช้สารสนเทศต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ.05 ส่วนบุคลากรที่มีวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงานต่างกันจะมีปัญหาการใช้สารสนเทศที่ไม่ต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศเพื่อการพัฒนาอาชีพในท้องถิ่นของบุคลากรองค์การภาครัฐในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1th_TH
dc.title.alternativeInformation use for local career development by government officers in the Upper Northern Provinces 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สารสนเทศศาสตร์)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed (1) to study information use for local career development by government officers in the upper northern provinces 1; (2) to compare information use for local career development by these government officers; (3) to study the problems of information use for local career development by government officers; (4) to compare the problems of information use for local career development by government officers. This research was a survey study and the population consisted of 320 government officers who work for local career development in upper northern provinces 1 (Chiang Mai, Lamphun, Lampang and Mae Hong Son). The instruments were questionnaires. The statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, One-way analysis of variance and comparison of matching. The research findings can be summarized as follows: 1) the government officers in the upper northern provinces 1 use information for local career development mostly at the high level and when classified by each aspect the mostly used were information for self development, followed by personal media for training, meeting, seminar and personnel information sources such as local scholar and community leader 2) Comparing information use by gender and ministry was found the overall significantly different of 0.5, was found that Male use more than female and Ministry of Agriculture and Cooperatives use less than Ministry of Education but classified by level of education, job experience found no statistical significance of .05 3) The problems of information use were at the moderate level such as insufficient information sources and the limitation of database access without membership and 4)Comparing the problems of information use by gender and ministry were found a significant difference of .05 but classified by level of education, job experience found no statistical significance of .05.en_US
dc.contributor.coadvisorสุทธินันท์ ชื่นชมth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Arts-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม26.43 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons