Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13017
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์th_TH
dc.contributor.authorวรารัธ เล็งไธสง, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2025-01-10T06:55:06Z-
dc.date.available2025-01-10T06:55:06Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13017en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การเปิดรับสื่อและเนื้อหาข่าวสาร (2) ความรู้ (3) ทัศนคติ เกี่ยวกับการป้องกันและลดอุบัติเหตุยานยนต์ (4) พฤติกรรมการขับขี่ ของผู้ขับขี่รถยนต์นั่งส่วนบุคคลในเขตจังหวัดนนทบุรี (5) ความสัมพันธ์ระหว่าง ลักษณะประชากร กับ การเปิดรับเนื้อหาข่าวสาร (6) ความสัมพันธ์ระหว่าง การเปิดรับเนื้อหาข่าวสาร กับ ความรู้ (7) ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับทัศนคติ และ (8) ความสัมพันธ์ระหว่าง ทัศนคติ เกี่ยวกับการป้องกันและลดอุบัติเหตุยานยนต์กับพฤติกรรมการขับขี่ ของผู้ขับขี่รถยนต์นั่งส่วนบุคคลในเขตจังหวัดนนทบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ขับขี่รถยนต์นั่งส่วนบุคคลในเขตจังหวัดนนทบุรี จำนวน 400 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบไคสแควร์ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีการเปิดรับเนื้อหาข่าวสารในระดับต่ำ สื่อที่กลุ่มตัวอย่างเปิดรับมากที่สุดคือ โทรทัศน์ (2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้ในเรื่องการป้องกันและลดอุบัติเหตุยานยนต์ ในระดับปานกลาง (3) กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกันและลดอุบัติเหตุยานยนต์ ในระดับมาก (4) กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการขับขี่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในการใช้รถใช้ถนนในระดับปานกลาง (5) ลักษณะทางประชากรด้านอายุ การศึกษา และอาชีพ มีความสัมพันธ์กับการเปิดรับเนื้อหาข่าวสาร (6) การเปิดรับเนื้อหาข่าวสาร มีความสัมพันธ์กับ ความรู้ (7) ความรู้ ไม่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติ และ (8) ทัศนคติ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม การขับขี่ที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุของผู้ขับขี่รถยนต์นั่งส่วนบุคคลในเขตจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอุบัติเหตุทางถนน--การป้องกันth_TH
dc.subjectการขับขี่ยานยนต์--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.titleการเปิดรับสื่อและเนื้อหาข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติเกี่ยวกับการป้องกันและลดอุบัติเหตุยานยนต์และพฤติกรรมการขับขี่ของผู้ขับขี่รถยนต์นั่งส่วนบุคคลในเขตจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeMedia exposure, knowledge and attitude towards preventing motor vehicle accidents and driving behavior of car drivers in Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) exposure to news of drivers in Nonthaburi Province; (2) their knowledge of safe driving; (3) their attitudes about preventing motor vehicle accidents; (4) their driving behavior; (5) the relationships between demographic factors and drivers’ exposure to news; (6) the relationship between drivers’ exposure to news and their knowledge of safe driving; (7) the relationships between drivers’ level of knowledge about safe driving and their attitudes about road safety; and (8) the relationships between drivers’ attitudes and their driving behavior. This was a survey research. The sample population was 400 passenger car drivers in Nonthaburi Province, chosen through multi-stage sampling. Data were collected using a questionnaires and statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, t test, chi square and Pearson’s correlated coefficient. The results showed that (1) Most of the samples were exposed to news at a low level and the media they were exposed to the most was TV. (2) Most of the samples had a medium level of knowledge about preventing motor vehicle accidents. (3) Most of the samples had a highly positive attitude about preventing motor vehicle accidents. (4) Most of the samples had a medium level of risky (likely to induce accidents) driving behavior. (5) The demographic factors of age, educational level and occupation were correlated to exposure to news. (6) Exposure to news was correlated to knowledge of preventing motor vehicle accidents. (7) Knowledge of preventing motor vehicle accidents was not correlated to attitudes about preventing traffic accidents. (8) Attitude about preventing motor vehicle accidents was not correlated to risky driving behavior.en_US
dc.contributor.coadvisorบุษบา สุธีธรth_TH
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons