Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13030
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | NOPPASAK PONGPAKDEE | en |
dc.contributor | นพศักดิ์ ป้องภักดี | th |
dc.contributor.advisor | Srisit Chianrabutra | en |
dc.contributor.advisor | ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร | th |
dc.contributor.other | Sukhothai Thammathirat Open University | en |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T07:59:08Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T07:59:08Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 1/11/2024 | |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13030 | - |
dc.description.abstract | This independent exploratory study aims to find durable parameter values for the gas packaging process to maintain deviations from standard deviation. Within a target range for resilience to environmental temperature changes. The experimental process uses Taguchi's technique and identifies crucial parameters including gas packaging pressure, gas packaging speed, and gas cylinder volume as control variables with 3 factors at 3 levels, and environmental temperature as a disruptive variable with 1 factor at 3 levels.The research methodology conducts experiments using Taguchi's technique to find resilient values. The study adopts a horizontal sequential layout, designs internal control and external disruptive factors, and then combines both factors through orthogonal arrays. Once the orthogonal array design is obtained, experiments are conducted using Minitab software for computation, selecting signal-to-noise ratio values and the desired response types.Research results indicate suitable parameter values as follows gas packaging pressure of 2.0 megapascals, gas packaging speed of 65 cans per minute, and gas cylinder volume of 128 milliliters. Post-adjustment results yielded a target range of 70.97–72.54 grams per can, reducing by 30.22% from the standard deviation. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ หาค่าพารามิเตอร์ที่ทนทานสำหรับกระบวนการบรรจุก๊าซทำให้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน อยู่ในช่วงเป้าหมายเพื่อทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมโดยกระบวนการทดลองนี้ใช้เทคนิคทากุชิและ ได้ทำการกำหนดค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญประกอบด้วย 1.แรงดันบรรจุก๊าซ 2. ความเร็วในการบรรจุก๊าซ 3. ปริมาตรกระบอกบรรจุก๊าซ เป็นตัวแปรควบคุม 3 ปัจจัย 3 ระดับ และ 4.อุณหภูมิสภาพแวดล้อม เป็นปัจจัยรบกวน 1 ปัจจัย 3 ระดับวิธีดำเนินการวิจัยดำเนินการทดลองด้วยเทคนิคทากุชิเพื่อหาค่าที่ทนทาน งานวิจัยนี้ได้เลือกรูปแบบการจัดวางลำดับแบบแนวฉาก ทำการออกแบบปัจจัยที่ควบคุมได้อะเรย์ภายใน และปัจจัยรบกวนอะเรย์ภายนอก จากนั้นนำทั้งสองอะเรย์มารวมกันโดยการไขว้ เมื่อได้ การออกแบบอะเรย์ไขว้แล้ว จึงทำการทดลองและใช้โปรแกรมมินิแทบ มาช่วยคำนวณ โดยได้เลือก ใช้ค่า อัตราส่วนสัญญาณต่อเสียงรบกวน ประเภทผลตอบสนองที่มีค่าตรงตามเป้าหมายผลการวิจัยพบว่าค่าพารามิเตอร์ที่เหมาะสมคือ1.แรงดันบรรจุก๊าซ 2.0 เมกกะปาสคาล 2. ความเร็วในการบรรจุก๊าซ 65 กระป๋องต่อนาที 3. ปริมาตรกระบอกบรรจุก๊าซ 128 มิลลิลิตร ซึ่งผลลัพธ์หลังปรับปรุงช่วงเป้าหมายที่ได้ 70.97–72.54 กรัมต่อกระป๋อง ลดลงจากเดิมร้อยละ 30.22 จากค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.rights | Sukhothai Thammathirat Open University | |
dc.subject | การหาค่าพารามิเตอร์ที่ทนทาน กระบวนการบรรจุก๊าซ ผลิตภัณฑ์สเปรย์ระงับกลิ่นกาย เทคนิคทากุชิ | th |
dc.subject | Robust parameter determination | en |
dc.subject | Gas filling process | en |
dc.subject | Deodorant spray products | en |
dc.subject | Taguchi technique | en |
dc.subject.classification | Engineering | en |
dc.subject.classification | Manufacturing | en |
dc.title | Determination of robust parameters for deodorant spray gas filling process using the Taguchi technique | en |
dc.title | การหาค่าพารามิเตอร์ที่ทนทานสำหรับกระบวนการบรรจุก๊าซผลิตภัณฑ์สเปรย์ระงับกลิ่นกายด้วยเทคนิคทากุชิ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Srisit Chianrabutra | en |
dc.contributor.coadvisor | ศรีสิทธิ์ เจียรบุตร | th |
dc.contributor.emailadvisor | [email protected] | |
dc.contributor.emailcoadvisor | [email protected] | |
dc.description.degreename | Master of Science in Engineering Management Technology (M.Sc. (Engeneering Mangement Technology)) | en |
dc.description.degreename | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาเทคโนโลยีการจัดการทางวิศวกรรม (วท.ม. (เทคโนโลยีการจัดการทางวิศวกรรม)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Master of Science (Engineering Management Technology) | en |
dc.description.degreediscipline | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการจัดการทางวิศวกรรม) | th |
Appears in Collections: | Science Tech - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2659600247.pdf | 3.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.