Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13034
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลรัฐ อินทรทัศน์th_TH
dc.contributor.authorภัทร มณีวงศ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:07:17Z-
dc.date.available2025-01-24T08:07:17Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13034en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการใช้สื่อเฟซบุ๊กของผู้ที่อาศัยในเมืองพัทยา 2) การรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊กของผู้ที่อาศัยในเมืองพัทยา 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊กกับความพึงพอใจที่มีต่อสื่อเฟซบุ๊กของผู้คนที่อาศัยอยู่ในเมืองพัทยา                การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ สมาชิกเฟซบุ๊กของกลุ่มต่างๆ ที่อาศัยอยู่ในเมืองพัทยา ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามออนไลน์ โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วยการส่งลิงก์แบบสอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่าง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสหสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการใช้สื่อเฟซบุ๊กของกลุ่มตัวอย่างคือใช้ทุกวัน ใช้แต่ละครั้งโดยเฉลี่ยประมาณ 30 นาที ช่องทางการใช้สื่อเฟซบุ๊กส่วนใหญ่ใช้ผ่านสมาร์ทโฟน ช่วงเวลาในการใช้สื่อเฟซบุ๊กส่วนใหญ่ใช้ในช่วงเวลาก่อนเข้านอน ช่วงเข้าห้องน้ำ และช่วงรับประทานอาหาร ตามลำดับ ความพึงพอใจในการใช้สื่อเฟซบุ๊กอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับคือ ใช้ง่ายสะดวกและรวดเร็ว ได้รับข้อมูลที่ทันสมัย สามารถสร้างสรรค์ความเป็นตัวตนได้ ใช้เป็นกิจกรรมยามว่าง ได้รับความเพลิดเพลิน สามารถสื่อสารแสดงความคิดเห็นของตนเองกับผู้อื่นได้รวดเร็ว และสามารถสร้างรายได้ ในส่วนการใช้ประโยชน์จากเฟซบุ๊ก พบว่า ใช้เพื่อหาข้อมูลข่าวสารในระดับมากที่สุด 2) กลุ่มตัวอย่างมีทักษะการรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊กโดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ทักษะการวิเคราะห์สื่อ ทักษะการเข้าถึงสื่อ ทักษะการประเมินสื่อและทักษะการใช้ประโยชน์ และ 3) การรู้เท่าทันสื่อ เฟซบุ๊กมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจที่มีต่อสื่อเฟซบุ๊กของผู้คนที่อาศัยในเมืองพัทยา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการรู้เท่าทันสื่อ--ไทย--พัทยาth_TH
dc.subjectเฟซบุ๊กth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาการบูรณาการการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleการรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊กของผู้ที่อาศัยในเมืองพัทยาth_TH
dc.title.alternativeFacebook literacy of the Residents in Pattaya Cityth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (การบูรณาการการสื่อสาร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the Facebook usage behavior of the residents in Pattaya city; 2) the Facebook literacy of the residents in Pattaya city; and 3) the relationship between level of Facebook literacy and level of satisfaction with Facebook usage of the residents in Pattaya city.                     This was quantitative research. The sample population was 400 members of various Facebook groups who lived in Pattaya city. They were chosen by multi-level random sampling. The data collection tool was an online questionnaire. A link to the questionnaire was sent to the samples digitally. Data were analyzed using the descriptive statistics of frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s correlated coefficient. The results showed that 1) The samples used Facebook every day, for an average of 30 minutes per time, most often via their smart phones. The majority of samples used Facebook most often just before going to sleep at night, followed by in the morning, while using the bathroom, and during meals, in that order. They had a high level of satisfaction with using Facebook. The things they liked, were, in order of importance, that it is easy, fast and convenient; that they can get up-to-date information; that they can use it to creatively express their individual identity; that it is a fun way to use free time; that it is a very fast way to communicate their ideas with others; and that it can be used to generate income. As for their utilization of Facebook, the majority of samples used it to find news and information the most. 2) The samples had a high level of Facebook literacy overall, including media analysis skills, media access skills, media evaluation skills and media utilization skills. 3) Level of Facebook literacy was correlated with level of satisfaction with Facebook to a statistically significant degree at 0.01.en_US
dc.contributor.coadvisorปิยฉัตร ล้อมชวการth_TH
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2611500550.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.