Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13040
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์th_TH
dc.contributor.authorอมรินทร์ อินทศรีth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:07:21Z-
dc.date.available2025-01-24T08:07:21Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13040en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะทางประชากรของนักท่องเที่ยว  2) ศึกษาการเปิดรับสื่อของนักท่องเที่ยว 3) ศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว  และ 4) เปรียบเทียบลักษณะทางประชากรกับการเปิดรับสื่อของนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการภูป่าเปาะ อำเภอหนองหิน จังหวัดเลย  การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ ณ ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวภูป่าเปาะ อำเภอหนองหิน จังหวัดเลย จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัยคือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่           ค่าร้อยละ การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปวน               ผลการวิจัย พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สถานภาพสมรสโสด  อายุ 20 -29 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า อาชีพรับข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่า 10,000 บาท และมีถิ่นที่อยู่อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) กลุ่มตัวอย่างเปิดรับสื่อเพื่อการท่องเที่ยวมากที่สุดได้แก่ เฟซบุ๊ก รองลงมาคือยูทูป  และเพื่อนในที่ทำางาน ตามลำดับ โดยมีความถี่ในการเปิดรับ 1-2 ครั้งต่อเดือน ระยะเวลาที่ใช้สื่อแต่ละครั้ง 15 -30 นาที และใช้สื่อในช่วงเวลา 21.01 – 24.00 น.  3) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เดินทางมาท่องเที่ยวภูป่าเปาะเป็นครั้งแรก โดยพาหนะที่ใช้คือรถยนต์ส่วนบุคคล เดินทางในช่วงวันหยุดยาว ใช้ระยะเวลาในการท่องเที่ยว 1 วัน โดยเป็นการเดินทางมาท่องเที่ยวพร้อมกับครอบครัวเพื่อพักผ่อน และ 4) เพศ และภูมิลำเนาที่อยู่อาศัยของนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการภูป่าเปาะ อำเภอหนองหิน จังหวัดเลยที่แตกต่างกันมีการเปิดรับสื่อเพื่อการท่องเที่ยวแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.subjectการเปิดรับสื่อ พฤติกรรมการท่องเที่ยว ภูป่าเปาะth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชานิเทศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาการบูรณาการการสื่อสาร--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาเฉพาะกรณี--การบูรณาการการสื่อสารth_TH
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสาร--ไทย--เลยth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--เลยth_TH
dc.titleการเปิดรับสื่อและพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ ภูป่าเปาะ อำเภอหนองหิน จังหวัดเลยth_TH
dc.title.alternativeMedia exposure and tourism behavior of Visitors to Phu Pa Po Mountain in Nong Hin District, Loei Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (การบูรณาการการสื่อสาร)th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to study the demographic factors of visitors to Phu Pa Po Mountain Tourist Service Center in Nong Hin District, Loei Province; 2) to study their media exposure; 3) to study their tourism behavior; and  4) to compare the visitors’ demographic factors with their media exposure.       This was survey research. The sample population, chosen through purposive sampling, was 400 people who came to use the services at Phu Pa Po Mountain Tourist Service Center in Nong Hin District, Loei Province. The research instrument was a questionnaire. Data analysis used frequency, percentage, t test, and analysis of variance.          The results showed that: 1) the majority of survey respondents were female, married, in the 20–29 age group, with a bachelor's degree or the equivalent. They were either civil servants or state enterprise employees, had an income of less than 10,000 baht per month, and resided in the Northeast region of Thailand. 2) Facebook provided the most exposure to tourism media, with YouTube and co-workers following closely behind. They typically encountered the media 1-2 times a month, spending 15-30 minutes at a time, primarily between 21:01 and 24:00. 3) Most of the survey respondents said they were visiting Phu Pa Po for the first time and had arrived by personal car. Most of them visited on a one-day trip during a long weekend or holiday. Most of them traveled with their families for leisure and relaxation. 4) Differences in the demographic factors of gender and area of residence were related to differences in the variables of media exposure to a statistically significant degree at the significance level of 0.05.en_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2641500505.pdf871.21 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.