Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13061
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศศิธร กาญจนสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorสิริลักษณ์ อินทรบุตรth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:24:20Z-
dc.date.available2025-01-24T08:24:20Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13061en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ  1) พัฒนาแบบวัดทักษะการคิดเลขเป็นของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6  และ 2) ตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทักษะการคิดเลขเป็นของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6              กลุ่มตัวอย่าง คือ   นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6  จำนวน  400  คน  โดยใช้ตารางเครจซีและมอร์แกนที่มีความคลาดเคลื่อน ร้อยละ 5  และยอมรับได้ ร้อยละ 95 ได้มา โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน  เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบวัดทักษะการคิดเลขเป็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6  ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ  โดยการหาความตรงเชิงเนื้อหา ความยาก ค่าอำนาจจำแนก และค่าความเที่ยง                 ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบวัดทักษะการคิดเลขเป็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6  จำนวน 1 ฉบับ  จำนวน 40 ข้อ เป็นข้อสอบแบบปรนัยแบบตอบสั้น  ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่  การบวก การลบ การคูณ การหาร และการบวก ลบ คูณ หารระคน  และ  2) คุณภาพแบบวัดทักษะการคิดเลขเป็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 มีความตรงเชิงเนื้อหาโดยค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง .67  ถึง  1.00 ค่าความยากรายข้อของแบบวัดทักษะการคิดเลขเป็น อยู่ระหว่าง .27 ถึง .80 ค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .20 ถึง .52 และค่าความเที่ยงของแบบวัดทั้งฉบับเท่ากับ  .91th_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาการวัดและประเมินการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนรู้--การวัดผลth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบวัดทักษะการคิดเลขเป็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Arithmetic Skills Assessment for 4th -6th grade Elementary School Studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การวัดและประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to develop an arithmetic skills assessment for elementary school grade 4 – 6 students; and 2) to verify quality of the developed arithmetic skills assessment for elementary school grade 4 – 6 students.                   The research sample consisted of 400 students in grades 4 – 6 using the Krejcie & Morgan tables with a 5 percent error and 95 percent acceptability, obtained from by multistage sampling. The research instrument was the arithmetic skills assessment for elementary school grade 4 – 6 students. Quality of the instrument was verified by finding its content validity, difficulty indices, discriminating indices, and reliability. The results of the research found that 1) The arithmetic skills assessment for the elementary school grade 4 – 6 students, 1 copy, 40 questions, was a short answer objective test, consisting of 5 elements: addition, subtraction, multiplication, division, and mix addition, subtraction, multiplication, and division. 2) The quality of the developed arithmetic skills assessment for elementary school grade 4 – 6 students had content validity as shown by the IOCs ranging from .67 to 1.00. The difficulty indices of item ranged from .27 to .80. The discriminating indices of items ranged from .20 to .52 and reliability coefficient was .91en_US
dc.contributor.coadvisorศศิธร กาญจนสุวรรณth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2592500017.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.