Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13086
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPREEYAPHORN KHOTAMAen
dc.contributorปรีญาภรณ์ โคตะมะth
dc.contributor.advisorKoolchalee Chongcharoenen
dc.contributor.advisorกุลชลี จงเจริญth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:24:34Z-
dc.date.available2025-01-24T08:24:34Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued3/5/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13086-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study (1) the innovative leadership level of school administrators; (2) the level of creative teaching behaviors of teachers; and (3) the relationship between innovative leadership of school administrators and creative teaching behaviors of teachers in schools under Rayong Primary Educational Service Area Office 1. The research sample consisted of 328 teachers in schools under Rayong Primary Educational Service Area Office 1 during the 2022 academic year, obtained by stratified random sampling based on school size.  The sample size was determined based on Krejcie and Morgan Table.  The employed research tool was a questionnaire on innovative leadership of school administrator and creative teaching behaviors of teacher, with reliability coefficients of .96 and .96, respectively.  Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation coefficient.The research findings revealed that (1) both the overall and specific aspects of innovative leadership of the school administrators were rated at the high level; the specific aspects of innovative leadership could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: the working as a team and participation; the possession of transformational vision; the creation of innovative organization atmosphere; the possession of creative thinking; and the risk management; (2) both the overall and specific aspects of creative teaching behaviors of the teachers were rated at the high level; the specific aspects of creative teaching behaviors could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: the having interaction between the teacher and the students to enhance thinking; the promotion of freedom of thinking of the students; the creative and diversified learning management; and the encouragement of the students to have imagination in solving problems; and (3) innovative leadership of the school administrators positively correlated at the moderate level with creative teaching behaviors of the teachers in the schools, which was significant at the .01 level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ระดับพฤติกรรมการสอนเชิงสร้างสรรค์ของครู และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับพฤติกรรมการการสอนเชิงสร้างสรรค์ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 ปการศึกษา 2566 กำหนดขนาดกลุมตัวอย่างโดยใชตารางเครจซี่และมอร์แกน ได้จำนวน  กลุมตัวอย่าง 328 คน จากนั้นทำการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาและพฤติกรรมการสอนเชิงสร้างสรรค์ของครู มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 และ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันผลการวิจัย พบว่า 1)  ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การทำงานเป็นทีมและมีส่วนร่วม การมีวิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลง การสร้างบรรยากาศองค์กรนวัตกรรม การมีความคิดสร้างสรรค์ และการบริหารความเสี่ยง 2) พฤติกรรมการสอนเชิงสร้างสรรค์ของครู โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนเพื่อส่งเสริมการคิด การส่งเสริมอิสระทางความคิดของนักเรียน การจัดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์และหลากหลาย และการกระตุ้นให้เกิดจินตนาการในการแก้ปัญหา และ 3) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนเชิงสร้างสรรค์ของครูในสถานศึกษามีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม  พฤติกรรมการสอนเชิงสร้างสรรค์  ประถมศึกษาth
dc.subjectInnovative leadershipen
dc.subjectCreative teaching behavioren
dc.subjectPrimary educationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Relationship Between Innovative Leadership of School Administrators and Creative Teaching Behaviors of Teachers in Schools under Rayong Primary Educational Service Area Office 1en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนเชิงสร้างสรรค์ของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorKoolchalee Chongcharoenen
dc.contributor.coadvisorกุลชลี จงเจริญth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Educational Administration)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2612300554.pdf2.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.