Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13091
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorสุธาทิพย์ ทองอ้นth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2025-01-24T08:24:36Z-
dc.date.available2025-01-24T08:24:36Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13091en_US
dc.descriptionการศึกษาเฉพาะกรณี (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก 2) เปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน และ 3) ศึกษาแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี  เขต 2กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 321 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยคำนวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ จากนั้นใช้วิธีการสุ่มแบบสัดส่วน ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .91 และแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว  และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการศึกษาพบว่า 1) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก  2) ผลการเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขนาดเล็กโดยจำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน พบว่าไม่แตกต่างกัน และ 3) แนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก พบว่า หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาควร (1) เปิดโอกาสให้ครูเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย วิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศึกษา (2) วิเคราะห์สมรรถนะและมอบหมายงานให้ตรงกับสมรรถนะของครูแต่ละคน (3) สนับสนุนงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการทำงานอย่างพอเพียงและเหมาะสม (4) จัดระบบประเมินผลการปฏิบัติงานตามสภาพจริง และ (5) ปรับสภาพแวดล้อมในด้านอาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานth_TH
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectครู--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2th_TH
dc.title.alternativeGuidelines for Enhancement Teachers’ Work Performance Motivation in the Small Sized Schools under Surat Thani Educational Service Area Office 2en_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: 1) to study the level of teachers’ work performance motivation in the small sized schools 2) to compare teachers’ work performance classified by genders, ages, education levels, and the work experiences; and 3) to study guidelines for enhancing teachers’ work performance motivation in the small sized schools under Surat Thani Educational Service Area Office 2.The research sample consist of 321 teachers in the small sized schools under Surat Thani Educational Service Area Office 2 during academic year 2023, obtained by quota sampling. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The key informants included 7 experts. The employed research instruments were 1) questionnaire on the teachers’ work performance motivation in the small sized schools, with reliability coefficients of .91 and 2) the interview form on guidelines for enhancing teachers’ work performance motivation in the small sized schools. The statistics employed for the data analysis were frequency, percentage, mean, deviation standards, t-test, One-way ANOVA, and content analysis.The research finding were as follows: 1) the overall and each aspect of teachers’ work performance motivation in the small sized schools were at high level; 2) regarding the comparison of  teachers’ work performance motivation in the small sized schools classified by genders, ages, education levels and work experiences, it was found that there was no significant difference; and 3) the enhancing teachers’ work performance motivation in the small sized schools was found that the agency and schools should (1) provide opportunities for teachers to participate in setting policies, vision, and mission of schools; (2) analyze competencies and assign work to match each person's competencies; (3)support adequate and appropriate budgets and working materials; (4) organize the performance evaluation system according to actual conditions; and (5) adjust the building environment and operational facilities.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2612301081.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.