Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13111
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSASIRINNA CHOMCHUENen
dc.contributorศศิรินนา ชมชื่นth
dc.contributor.advisorratana duagkeawen
dc.contributor.advisorรัตนา ดวงแก้วth
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:24:44Z-
dc.date.available2025-01-24T08:24:44Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued7/5/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13111-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the learning environment management in the 21st century of schools under the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Sawan; 2) to compare the learning environment management in the 21st century of schools as classified by school size; and 3) to study suggestions for learning environment management in the 21st century of schools.The sample consisted of 316 school teachers under the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Sawan, all of whom were obtained by stratified random sampling based on school size. The research instruments were a rating scale questionnaire dealing with data on learning environment management in the 21st century of schools, with reliability coefficient of .94, and an interview form concerning suggestions for the learning environment management in the 21st century of schools. The research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, One-way ANOVA, and content analysis.The research findings revealed that 1) the overall learning environment management in the 21st century of schools under the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Sawan was at the high level; 2) as for comparison results of learning environment management in the 21st century of schools as classified by school size, it was found that the difference was not statistically significant at the .05 level; and 3) the suggestions for learning environment management in the 21st century of schools were as follows: the schools should encourage teachers to attend training on active teaching and learning, strengthen teachers' motivation to work together for both academic advancement and social relations, support teachers of all ages to develop their own learning regularly, especially using technology for learning management, clearly define the roles and responsibilities between schools and their networks in jointly developing students, as well as communicate to create mutual understanding, improve technology infrastructure systems to be more efficient, and provide training in technology use and maintenance to teachers and educational personnel.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ 2) เปรียบเทียบการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา และ 3) ศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษากลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำนวน 316 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือวิจัยได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .94 และแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเกี่ยวกับข้อเสนอแนะการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) การบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ข้อเสนอแนะการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา ได้แก่ สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบเชิงรุก เสริมสร้างแรงจูงใจในการทำงานร่วมกันของครูทั้งความก้าวหน้าทางวิชาการและความสัมพันธ์เชิงสังคม สนับสนุนให้ครูทุกวัยพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างสม่ำเสมอโดยเฉพาะการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ กำหนดบทบาทหน้าที่ระหว่างสถานศึกษาและเครือข่ายในการร่วมพัฒนาผู้เรียนอย่างชัดเจน พร้อมทั้งสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน ปรับปรุงระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีให้มีประสิทธิภาพ และอบรมด้านการใช้เทคโนโลยีและการบำรุงรักษาให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาth
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21 มัธยมศึกษาth
dc.subjectLearning environment managementen
dc.subject21st Centuryen
dc.subjectSecondary educationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleLearning Environment Management in the 21st Century of Schools under the Secondary Educational Service Area Office Nakhon Sawanen
dc.titleการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorratana duagkeawen
dc.contributor.coadvisorรัตนา ดวงแก้วth
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Educational Administration (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษา (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Educational Administration)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2622300107.pdf3.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.