Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13128
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ลักขณา ส้มแก้ว | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:24:51Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:24:51Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13128 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเกมระหว่างหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 75 และ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเกมระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนท่าเฟืองวิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียนในเครือข่ายกรูด ป่าร่อน คลองสระ 1 ห้องเรียน จำนวน 20 คน โดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเกม เรื่อง ระบบนิเวศ จำนวน 5 แผน ใช้เวลาเรียน 18 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 3) แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบเครื่องหมายผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเกมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเกม มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เกมทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--ไทย--สุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเกม เรื่อง ระบบนิเวศ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเครือข่ายกรูด ป่าร่อน คลองสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of the Inquiry Instruction Together with Games in the Topic of Ecosystem on Learning Achievement and Analytical Thinking Ability of Grade 9 Students at Schools of Krut, Pa Ron, Klong Sa Network in Surat Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to 1) compare the learning achievement of grade 9 students after learning through the inquiry instruction together with games with the 75 percent criterion, and 2) compare the analytical thinking ability of grade 9 students before and after learning through the inquiry instruction together with games.The research sample consisted of 20 grade 9 students from one classroom of Thafuengvittaya school at Schools of Krut, Pa Ron, Klong Sa Network, obtained by cluster random sampling. The research instruments were 1 )5 instructional plans based on inquiry instruction together with games in the topic of Ecosystem for 18 hours, 2) a learning achievement test, and 3) an analytical thinking ability test. The statistics used for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and Sign test.The research findings were that 1) the learning achievement of grade 9 students after learning through the inquiry instruction together with games was significantly higher than the 75 percent criterion at the.05 level of statistical significance, and 2) the students’ analytical thinking ability after learning through the inquiry instruction together with games was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of significance. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ดวงเดือน สุวรรณจินดา | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2632000580.pdf | 1.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.