Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13138
Title: The Effects of Activities Management According to the CPA Approach on Learning  Achievement and Mathematics Representation on Fraction of Grade 3 Students at The Demonstration School of Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage Pathum Thani Province
ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด CPA ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการนำเสนอทางคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์  ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี
Authors: AKARAPON ANUPAN
อัครพล อนุพันธ์
SUREERAT AREERAKSAKUL
ผศ.ดร.สุรีรัตน์ อารีรักษ์สกุล
Sukhothai Thammathirat Open University
SUREERAT AREERAKSAKUL
ผศ.ดร.สุรีรัตน์ อารีรักษ์สกุล
[email protected]
[email protected]
Keywords: แนวคิด CPA ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การนำเสนอทางคณิตศาสตร์ ประถมศึกษา
CPA Approach
Learning achievement
Mathematics Representation
Primary Education
Issue Date:  22
Publisher: Sukhothai Thammathirat Open University
Abstract: The purposes of this research were to 1) study the relationship between mathematics learning achievement and mathematics representation of grade 3 students in the group learning with CPA approach and 2) compare the mathematics learning achievement and mathematics representation of grade 3 students between the group learning with CPA approach and the group learning with conventional mathematics learning activities.                      The research sample consisted of 60 grade 3 students of The Demonstration School of Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage in Pathum Thani Province during the first semester of the academic year 2023. Two classrooms, each with 30 students, were obtained by cluster random sampling.  The employed research instruments consisted of 1) mathematics learning management plans on Fraction by using activities management according to the CPA approach 2) mathematics learning management plans on Fraction by using conventional mathematics learning activities 3) a mathematics learning achievement test and 4) an evaluation form for mathematics representation. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, Pearson’s correlation coefficient, and MANOVA test.                      The Research findings showed that 1) the relationship between mathematics learning achievement and mathematics representation of grade 3 students learning with CPA approach have a positive relationship with high correlation (r = 0.667, p
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และการนำเสนอทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด CPA และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และการนำเสนอทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด CPA กับกลุ่มที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ               กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ปีการศึกษา 2566 จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 30 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิด CPA  เรื่อง เศษส่วน 2) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ เรื่อง เศษส่วน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ และ 4) แบบประเมินการนำเสนอทางคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนตัวแปรพหุนาม               ผลการวิจัย พบว่า 1) ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และการนำเสนอทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด CPA มีความสัมพันธ์ทางบวก ขนาดความสัมพันธ์สูง (r= 0.667, p
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13138
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2632100497.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.