Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13140
Title: The Effect of Using DR-TA Teaching Method on English Reading Abilityof Grade 10 Students at Angthong Patthamarot Wittayakhom Schoolin Angthong Province
ผลการใช้วิธีการสอนแบบ DR-TA ที่มีต่อความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม จังหวัดอ่างทอง
Authors: PATTARAMON CHAMCHOT
ภัทรมน แช่มโชติ
Areerug Mejang
อารีรักษ์ มีแจ้ง
Sukhothai Thammathirat Open University
Areerug Mejang
อารีรักษ์ มีแจ้ง
[email protected]
[email protected]
Keywords: วิธีการสอนแบบ DR-TA ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ มัธยมศึกษา
DR-TA teaching method
English reading ability
Secondary education
Issue Date:  30
Publisher: Sukhothai Thammathirat Open University
Abstract: The purpose of this study was to compare English reading ability of grade 10 students at Angthong Patthamarot Wittayakhom School in Angthong province before and after learning by using the DR-TA teaching method.The research sample consisted of one classroom of 40 grade 10 students studying in the second semester of the academic year 2023 at AngthongPatthamarot Wittayakhom School in Angthong province, obtained by clusterrandom sampling. The employed research instruments were 1) 5 lesson plans for learning English reading by using DR-TA teaching method for 10 hours, and 2) an English reading ability test. Statistics used for data analysis were mean, standard deviation, and t-test.The research findings showed that the English reading ability of grade 10 students at Angthong Patthamarot Wittayakhom after learning by using DR-TA the teaching method was higher than their pre-learning counterpart score at the .05 level of statistical significance.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม จังหวัดอ่างทอง ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยวิธีการสอนแบบ DR-TA กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ของโรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์-วิทยาคม จังหวัดอ่างทอง ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 1 ห้อง มีจำนวน 40 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสอนแบบ DR-TA จำนวน 5 แผน รวม 10 ชั่วโมง และ 2) แบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังเรียนด้วยวิธีการสอนแบบ DR-TA สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13140
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2632100836.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.