Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13163
Title: | Guidelines for Curriculum Administration in 21st Century of Schools under Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization แนวทางการบริหารหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา |
Authors: | TEERAWOOT RAKKLANG ธีรวุฒิ รักกลาง Suttiwan Tuntirojanawong สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์ Sukhothai Thammathirat Open University Suttiwan Tuntirojanawong สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์ [email protected] [email protected] |
Keywords: | การบริหารหลักสูตร ศตวรรษที่ 21 องค์การบริหารส่วนจังหวัด Curriculum management 21st Century Provincial administrative organization |
Issue Date: | 20 |
Publisher: | Sukhothai Thammathirat Open University |
Abstract: | The purposes of this research were 1) to study the curriculum management in the 21st century of schools; 2) to study the curriculum management in the 21st century of schools, as classified by school size; and 3) to propose guidelines for curriculum management in the 21st century of schools under Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization. The research sample consisted of 313 administrators and teachers in schools under the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization, obtained by tables of Krejcie and Morgan and stratified random sampling based on school size. The research instruments were a questionnaire on curriculum management in the 21st century of schools with a reliability of .96, and an interview form on guidelines for curriculum management in the 21st century of schools. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA, pairwise comparison using Scheffe's method, and content analysis. The research findings revealed that 1) the overall and each aspect of curriculum management in the 21st century of schools were rated at the high level, and the specific aspects; could be ranked based on their rating means from the highest to the lowest as follows: preparing school curriculum, planning to use school curriculum, using school curriculum, analyzing school context, and evaluating the use of school curriculum; 2) regarding comparison results of curriculum management in the 21st century of schools, as classified by school size, it was found that the overall curriculum management in the 21st century of schools was significantly different at the .05 level. Regarding pairwise comparison results, it was found that the small schools were significantly different from the medium, large and extra-large schools in all aspects at the .05 level; and 3) guidelines for curriculum management in the 21st century of schools, it was found that schools should use the skills of learners in the 21st century to analyze the curriculum to be consistent with the local context, arrange a meeting to critique the curriculum before it was used, having supervision committee to continuously monitor the use of the curriculum, and having the curriculum development networks with schools in other agencies. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา 2) ศึกษาการบริหารหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา และ 3) ศึกษาแนวทางการบริหารหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมากลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา จำนวน 313 คน ได้จากการเปิดตารางของเครจซีและมอร์แกน และสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือการวิจัยที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าเกี่ยวกับการบริหารหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษามีค่าความเที่ยงเท่ากับ .96 และแบบสัมภาษณ์แนวทางการพัฒนาการบริหารหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการบริหารหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด ได้แก่ การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนเตรียมใช้หลักสูตรสถานศึกษา การใช้หลักสูตรสถานศึกษา การวิเคราะห์บริบทสถานศึกษา และการประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 2) การเปรียบเทียบการบริหารหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อเปรียบเทียบรายคู่ พบว่า สถานศึกษาขนาดเล็กแตกต่างกับสถานศึกษาขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และขนาดใหญ่พิเศษในทุกด้าน และ 3) แนวทางการบริหารหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 พบว่า สถานศึกษาควรนำทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มาใช้วิเคราะห์หลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น มีการประชุมวิพากษ์หลักสูตรก่อนนำไปใช้ มีคณะกรรมการขับเคลื่อนและนิเทศติดตามการใช้หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง และมีการเสริมสร้างเครือข่ายการพัฒนาหลักสูตรกับสถานศึกษาในหน่วยงานอื่น |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13163 |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2632301236.pdf | 2.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.