Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13168
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุขอรุณ วงษ์ทิม | th_TH |
dc.contributor.author | ประภาพร ผลบูรณ์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:25:08Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:25:08Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13168 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการศึกยภาพการป้องกันภาวะซึมเศร้า ของนักศึกษาที่มาจากครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว ก่อนและหลังการให้ปรึกษากลุ่ม และ 2) เปรียบเทียบ ศักยภาพการป้องกันภาวะซึมเศร้า ของนักศึกษาที่มาจากครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว ที่ได้รับการให้การปรึกษากลุ่ม กับนักศึกษาที่ได้รับการให้คำแนะนำตามปกติกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มนักศึกษา จำนวน 16 คน ที่มีคะแนนศักยภาพการป้องกันภาวะซึมเศร้าจากน้อยไปหามาก แล้วแบ่งออกเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดความศักยภาพการป้องกันภาวะซึมเศร้า ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .84 2) โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการป้องกันภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาที่มาจากครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว และ 3) คำแนะแนวตามปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกซัน และการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัย พบว่า 1) ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลอง มีศักยภาพในการป้องกันภาวะซึมเศร้า สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ภายหลังการทดลอง นักศึกษามีศักยภาพในป้องกันภาวะซึมเศร้า สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับคำแนะนำตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการป้องกันภาวะซึมเศร้าที่สร้างขึ้นเพื่อนักศึกษาที่มาจากครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวนี้ สามารถนำไปใช้ในการเสริมสร้างศักยภาพในการป้องกันภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาที่มาจากครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวได้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ความซึมเศร้า--การป้องกัน | th_TH |
dc.subject | การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม | th_TH |
dc.subject | ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว--ไทย--สระบุรี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา | th_TH |
dc.title | ผลของการให้การปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อเสริมสร้างศักยภาพการป้องกันภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาที่มาจากครอบครัวเลี้ยงเดี่ยวมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดสระบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Effect of group counseling to enhance depressive potential of students from single-parent families at a university in Saraburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to 1) compare the depressive potential of the Students in an experimental group before and after group counseling, and 2) compare the depressive potential in an experimental group and a control group after using the group counseling.The samples were of 16 students from single-parent families at a university in Saraburi province, Then, simple sampling was done to divide them into 2 groups, an experimental group and a control group, with 8 patients in each group. Research instruments were 1) the depressive potential questionnaires with Alpha’s Cronbach Coefficient reliability of .84, and 2) a group counseling program to enhance the depressive potential of students from single-parent families. The statistics were median, quartile deviation, Wilcoxon Matched Pairs Singed-Ranks Test, and Mann-Whitney U Test.The results showed that 1) after receiving the group counseling, an experimental group of Students had a Depressive Potential higher than before with statistical significance at the level of .05; and 2) after receiving the group counseling, an experimental group of students had the depressive potential higher than a control group with statistical significance at the .05 level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2632800146.pdf | 941.91 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.