Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13174
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPLOYSIRI PUTTHARAKSAen
dc.contributorพลอยศิริ พุทธรักษาth
dc.contributor.advisorNuanjid Chaowakeratipongen
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์th
dc.contributor.otherSukhothai Thammathirat Open Universityen
dc.date.accessioned2025-01-24T08:25:11Z-
dc.date.available2025-01-24T08:25:11Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued24/5/2024
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13174-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) compare the scientific modeling ability of grade 9 students who learned through model-based learning instruction and students who learned through traditional instruction, 2) compare the scientific modeling ability of grade 9 students before and after learning through model-based learning instruction, 3) compare the analytical thinking ability of grade 9 students who learned through model-based learning instruction and the students who learned through traditional instruction, and 4) compare the analytical thinking ability of grade 9 Students before and after learning through model-based learning instruction.The research sample consisted of 64 grade 9 students of Phattharayan Wittaya School who studied in the academic year 2023, obtained by cluster random sampling. One class was randomly assigned as an experiment group and another group was assigned as a control group. The research instruments were 1) 4 lesson plans based on model-based learning instruction in the topic of light for 18 hours, 2) 4 lesson plans based on traditional instruction for 18 hours, 3) a scientific modeling ability test, and 4) an analytical thinking ability test. The statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test.The research findings showed that 1) the scientific modeling ability of students who learned through model-based learning instruction was higher than those of the students who learned through traditional instruction at the .05 level of statistical significance. 2) The scientific modeling ability of the students who learned through model-based learning instruction was higher than their pre-learning counterpart ability at the.05 level of statistical significance. 3) The analytical thinking ability of students who learned through model-based learning instruction was higher than those of the students who learned through traditional instruction at the .05 level of statistical significance, and 4) the analytical thinking ability of the students who learned through model-based learning instruction was higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน กับนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน 3) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน กับนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ 4) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนภัทรญาณวิทยา ปีการศึกษา 2566 จำนวน 64 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง แสง จำนวน 4 แผน ใช้เวลาเรียน 18 ชั่วโมง 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ เรื่อง แสง จำนวน 4 แผน ใช้เวลาเรียน 18 ชั่วโมง 3) แบบทดสอบความสามารถในการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ และ 4) แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า 1) นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานมีความสามารถในการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 2) นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน มีความสามารถในการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSukhothai Thammathirat Open University
dc.rightsSukhothai Thammathirat Open University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยแบบจำลองเป็นฐาน  แบบจำลองทางวิทยาศาสตร์  การคิดวิเคราะห์  มัธยมศึกษาth
dc.subjectModel-based Learning Instructionen
dc.subjectScientific Modelingen
dc.subjectAnalytical Thinkingen
dc.subjectSecondary Educationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Effect of Model-Based Learning Instruction in The Topic of Light on Scientific Modeling and Analytical Thinking Ability of Grade 9 Students in Phattharayan Wittaya School at Nakhon Pathom Provinceen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองเป็นฐาน เรื่อง แสง ที่มีต่อความสามารถในการสร้างแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนภัทรญาณวิทยา จังหวัดนครปฐมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNuanjid Chaowakeratipongen
dc.contributor.coadvisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์th
dc.contributor.emailadvisor[email protected]
dc.contributor.emailcoadvisor[email protected]
dc.description.degreenameMaster of Education in Science Education (Master of Education(Science Education))en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineMaster of Education (Science Education)en
dc.description.degreedisciplineศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)th
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2642000273.pdf2.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.