Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13181
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวรรณี ยหะกร | th_TH |
dc.contributor.author | เสาวณีย์ ชาวาปี | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2025-01-24T08:25:14Z | - |
dc.date.available | 2025-01-24T08:25:14Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13181 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับเกมการศึกษากับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 2) เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนภาษาไทยของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับเกมการศึกษากับเกณฑ์ ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 10 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับเกมการศึกษาจำนวน 10 แผน เวลาในการสอน 20 ชั่วโมง 2) แบบวัดความสามารถในการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 และ3) แบบวัดความสามารถในการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบเครื่องหมาย ผลการวิจัย พบว่า 1) ความสามารถในการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับเกมการศึกษาหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติระดับ .01 และ 2) ความสามารถในการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับเกมการศึกษาหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง | th_TH |
dc.subject | เกมหมากกระดานในการศึกษา | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--การอ่าน--ประถมศึกษา | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--การเขียน--ประถมศึกษา | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับเกมการศึกษาที่มีต่อความสามารถในการอ่านและความสามารถในการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of Brain-Based Learning Management Together with Educational Games on Reading and Writing Abilities of Grade 2 Students in Schools under Kalasin Primary Educational Service Area Office 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to 1) compare the Thai language reading ability of Grade 2 students after learning through the brain-based learning management together with educational games with the 70 percent criterion; and 2) compare the Thai language writing ability of Grade 2 students after learning through the brain-based learning management together with educational games with the 70 percent criterion.The research sample consisted of 10 Grade 2 students in an intact classroom of a school under Kalasin Primary Educational Service Area Office 1 during the second semester of the academic year2023, obtained by multi-stage sampling. The employed research tools were 1) ten learning management plans for the brain-based learning management together with educational games for 20 hours; 2) a scale to assess Thai language reading ability of Grade 2 students; and 3) a scale to assess Thai language writing ability of Grade 2 students. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and sign test.The research findings revealed that 1) the Thai language reading ability of Grade 2 students who had learned through the brain-based learning management together with educational games was significantly higher than the 70 percent criterion score at the .01 level of statistical significance; and 2) the Thai language writing ability of Grade 2 students who had learned through the brain-based learning management together with educational games was significantly higher than the 70 percent criterion score at the .01 level of statistical significance. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อภิรักษ์ อนะมาน | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2642100222.pdf | 1.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.