Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13186
Title: A Comparison of the Results of Learning Management Based on The Design Thinking Process with the Results of Learning Management Based on Intertextuality Theory on the Ability to Compose Thai Poetry and the Creative Thinking of Grade 8 Students at The Demonstration School of Nakhorn Ratchasima Rajabhat University (High School Division)
การเปรียบเทียบผลการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการคิดเชิงออกแบบกับผลการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีสหบทที่มีต่อความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ไทยและความคิดริเริ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ฝ่ายมัธยม
Authors: JAKKGRIT JARAT
จักรกฤษณ์ จ่ารัตน์
Apirak Anaman
อภิรักษ์ อนะมาน
Sukhothai Thammathirat Open University
Apirak Anaman
อภิรักษ์ อนะมาน
[email protected]
[email protected]
Keywords: กระบวนการคิดเชิงออกแบบ การจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีสหบท คำประพันธ์ไทย  ความคิดริเริ่ม
Design Thinking Process
Intertextuality Theory
Compose Thai Poetry
The Creative Thinking
Issue Date:  18
Publisher: Sukhothai Thammathirat Open University
Abstract: The purposes of this research were to 1) compare the ability to compose Thai poetry after learning of grade 8 students who learned by using the design thinking process learning management with those who learned by using the intertextuality theory learning management, and 2) compare the creative thinking after learning of the students who learned by using the design thinking process learning management with those who learned by using the intertextuality theory learning management.                  The research sample consisted of grade 8 students at the demonstration school of Nakhorn Ratchasima Rajabhat University (High School Division). The employed research instruments were 1) 10 lesson plans based on the design thinking process, totaling 20 hours, 2) 10 lesson plans based on intertextuality theory, totaling 20 hours, 3) a Thai poetry composing ability and creative thinking test, 4) criteria for evaluating Thai poetry composing ability, and 5) criteria for evaluating creative thinking in Thai poetry composing ability . Statistics employed for data analysis were mean, standard deviation, and t-test. The research findings that 1) after learning the students who learned by using the design thinking process learning management had different scores of Thai poetry composing ability from those who learned by using the intertextuality theory learning management at the .05 level of statistical significance; and 2) after learning the students who learned by using the design thinking process learning management had different scores of creative thinking from those who learned by using the intertextuality theory learning management at the .05 level of statistical significance
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการแต่งคำประพันธ์หลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนรู้ตามกระบวนการคิดเชิงออกแบบ กับนักเรียนที่เรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีสหบท และ 2) เปรียบเทียบความคิดริเริ่มในการแต่งคำประพันธ์หลังเรียนของนักเรียนที่การเรียนรู้ตามกระบวนการคิดเชิงออกแบบกับนักเรียนที่เรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีสหบท                กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ฝ่ายมัธยม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการคิดเชิงออกแบบ จำนวน 10 แผน 20 ชั่วโมง 2) แผนการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีสหบท จำนวน 10 แผน 20 ชั่วโมง 3) แบบวัดความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ไทยและความคิดริเริ่มในการแต่งคำประพันธ์ไทย  4) เกณฑ์การประเมินความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ไทย และ 5) เกณฑ์การประเมินความคิดริเริ่มในการแต่งคำประพันธ์ไทย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่เรียนรู้ตามกระบวนการคิดเชิงออกแบบมีคะแนนความสามารถในการแต่งคำประพันธ์ไทยหลังเรียนแตกต่างจากนักเรียนที่เรียนรู้ตามทฤษฎีสหบท อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) นักเรียนที่เรียนรู้ตามกระบวนการคิดเชิงออกแบบ มีคะแนนความคิดริเริ่มในการแต่งคำประพันธ์ไทยหลังเรียนแตกต่างจากนักเรียนที่เรียนรู้ตามทฤษฎีสหบท อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/13186
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2642101121.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.